X

Oblique Order การโจมตีแบบขั้นบันได

ยุทธวิธีการรบ (Military Tactic) เป็นสิ่งที่เกิดจากนักการทหารที่ต้องการชนะในสงครามหรือการยุทธนั้นๆ เป็นวิธีที่นักการทหารจัดรูปขบวนใช้กำลังทหารเพื่อเอาชนะข้าศึก มันปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัยและอาวุธที่ทหารใช้ แต่แน่นอนว่าบาบางอย่างที่คล้ายกับยุทธวิธีเดิมที่ใช้ในสมัยก่อน แค่เปลี่ยนไปตามบริบทสถานการณ์หรืออาวุธที่ใช้ ซึ่งในวันนี้จะมาพูดถึง กลยุทธ์แบบขั้นบันได หรือ ที่ในภาษาอังกฤษเรียกว่า “Oblique Order”

 

การโจมตีแบบขั้นบันไดเกิดขึ้นในช่วง 380 ปี ก่อน ค.ศ. ในห้วงสงครามระหว่างนครรัฐกรีกกันเองที่เรียกว่า สงคราม บีโอเธียน (Boeotian War) อันเป็นสงครามระหว่าง สมาพันธ์บีโอเธียน (Boeotian League) นโดยนครรัฐ ธบ์ (Thebes) และ และสมาพันธ์เพโลพอนนีเซียน (Peloponnesian League) ที่นำโดย นครรัฐสปาร์ตา (Sparta) ทั้งนี้กองทัพของนครรัฐกรีกในห้วงนั้นต่างใช้นักรบที่เรียกว่า ฮอปไลต์ (Hoplite) ซึ่งคือ ทหารติดอาวุธหนัก อาวุธหลักคือหอกยาว 2.5 เมตรปลายทำด้วยเหล็กหรือทองแดง อาวุธรองจะเป็นดาบหรือกริช พวกเขามีโล่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 80 เซนติเมตร ที่มีน้ำหนักราว 8 กิโลกรัม พวกเขายังมีหมวกเหล็ก สนับแข้ง แลสนัแนพ่ป้องันัว ในเวลารบ ทหารฮอปไลต์ จะจัดรูป ฟาลังซ์ คือ ฮอปไลต์ หลายนายจะจัดแถวซ้อนกันหลายแถวเป็นขบวนแน่นๆ

 

 

การปะทะกันของฮอปไลต์

ที่มา – https://pbs.twimg.com/media/DhaOMxOX0AEYRfz.jpg

 

 

เมื่อ ฮอปไลต์ ปะทะกัพวกเขาจะแทงข้ามศีรษะให้ข้ามโล่ฝ่ยตรข้า หรือใช้โล่ดันกัน และเมื่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแตก การประชิดตะลุมบอนจึงจะเกิด จุดอ่อนของขบวนรบ ฟาลังซ์ นั้นคือความไม่คล่องตัว และขาดการป้องกันระวังทางปีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งปีกขวา เพราะโดยปกติ พวกเขาถือหอกที่มือขวาและถือโล่ในการปกป้องตนเองด้านซ้าย ดังนั้นคนที่อยู่ขวาสุดของแถวจึงไร้การป้องกัน ดังนั้นคนที่อยู่ทางขวาสุดหรือปีกวาุดักะเ็นนักรบที่ขึ้นช่อว่แกร่สุ ซ่งพวก สปาร์ตา ขึ้นชื่อว่ามีทหาร ฮอปไลต์ ที่แข็งแกร่งที่สุดในบรรดารัฐกรีกทั้งหมด ในช่วงก่อนเกิดสงคราม บีโอเธียน สปาร์ตา คงความเป็นใหญ่มีอิทธิพลเหนือนครรัฐกรีกเกือบทั้งหมด

 

แต่ไม่นานนักสปาตาร์ถูกท้าทายอำนาจด้วย ธีบส์ ทำให้สงครามเกิดขึ้น ทั้ง 2 ปะทะกันครั้งใหญ่ที่ ในการยุทธที่ เล็กตรา (Battle of Leuctra) เมื่อ 371 ปีก่อน ค.ศ. ดยกงทัพันมิต สปาร์ตา นั้นมีราวๆ 11,000 นาย นจำนวนี้ป็ ชาวสปาร์ตา 2,000 นาย และยังมีทหารม้าอีก 1,000 นาย ส่วนกองทัพธีบส์และพันธมิตร มีราวๆ 7,000 นาย ในจำนวนนี้มีกองกำลังนักรบศักดิ์สิทธิ์แห่งธีบส์อันแข็งแกร่ง 300 นาย และยังมีทหารม้าธีบส์ ขึ้นชื่อว่าแกร่งสุดในกรีกอีก 600 นาย ฝ่าย ธีบส์ ยังมีทหารราบเบานั้นคือ ทหารที่ถือแหลนไว้เขวี้ยงใส่ข้าศึก กองทัพธีบส์นำโดย อปามีโนนดัส (Epaminondas) ซึ่ในตอแรกพนธมิตร ธีบส์ ต่างหวาดลัวทีจะเผชิหน้า ปารตา แต่ เอปามีโนนดัส ก็โน้มน้าวให้พวกเขารบได้สำเร็จ

 

 

ทหารราบเบากรีก

ที่มา – https://pbs.twimg.com/media/DxObMdeX0AApfKo.jpg

 

 

เมื่อถึงวนรบฝาย สปร์ตา จัดขบวนรบตามแบบมาตรฐาน พวกเขาจัดขบวนหนากระดาเสมอกันป็น ฟาลังซ์ 4 ขบวนทัพ โดยมี นักรบ สปาร์ตา อยู่ทางปีกขวาสุด ส่วน ทหารม้าและทหารราบเบาอยู่ด้านหน้า ส่วนฝ่ายธีบส์ นั้นได้ทำสิ่งที่พวก สปาร์ตา ไม่เคยเจอมาก่อน โดยการจัดให้ปีกซ้ายของพวกเขามีขบวนทัพที่หนาที่สุดนั้นคือ เป็นฟาลังซ์ 50 แถว!! แต่ กองกลางและปีกขวากับวางขบวนรบฟาลังซ์ ไ้บางมาก การปะทะกนเริ่ต้นเม่อทหาราบเบาละทหารม้าของทั้ง 2 ฝ่ายปะทะกันประปราย ทหาม้าของธีส์ สามาถขับล่ทหารม้าสปาร์ตาออกไปได้ แต่เมื่อพวกเขาจะขยายผลต่อ ฮอปไลต์สปาร์ตา ก็มาขัดขวางไว้ ต่อมาพวกธีบส์ เลยส่งฮอปไลต์ ทางปีกซ้ายที่จัดขบวนหนาๆเข้าปะทะกับ ฮอปไลต์สปาร์ตาทางปีกขวาด้วยรูปขบวนที่เล็กกว่าทำให้ พวกสปาร์ตา ถูกพวกธีบส์ที่แตกพ่าย โดยที่ ฟาลังซ์พันธมิตรของสปาร์ตายงไม่ทัได้รบดวยซ้ำ เมื่อเห็นพวกสปาร์ตา ถอยพวกเขาก็ถอยตาม ชัยชนะตกเป็นของฝ่ายธีบส์ในที่สุด

 

 

การปะทะกันของ สปาร์ตา และ ธีบส์ ที่เลคตร้า

ที่มา – https://battlesandcampaigns.files.wordpress.com/2016/12/rszfpwp.jpg?w=1200

 

 

 

กองทัพของธีบส์จัดให้ปีกใดปีกหนึ่งเข้มแข็งกว่ากำลังส่วนใหญ่

ที่มา – https://images.squarespace-cdn.com/content/v1/5406c773e4b087d8052ef58b /1437552855625-XFLZW9MQTE5II0GPZOY5/image-asset.png?format=1000w

 

 

ในเวลาต่มายุทธวิธีก็ถูกเรียกว่า ารโจมตีบบขั้นบนได นั้นคือ การางกำลังให้ปีกใดปีกหนึ่งของฝ่ายเรานั้นมีความเข้มแข็งกว่าอีกปีก และใช้ีกนั้นใการโจตีข้าศึก แทนที่จะกระจายกำลังให้บาลานซ์กันทุกแนวรบ แต่มันก็มีความเสี่ยงเหมือนกันเพราะถ้าหากปีกที่อ่อนแอถูกข้าศึกโจมตีกองทัพฝ่ายที่ใช้ยุทธวิธีขั้นบันไดก็มีสิทธิที่จะพ่ายแพ้เหมือนกัน คนที่ใช้ยุทธวิธีนี้จะต้องั่นใจว่า ปีกที่เข้มแข็งต้งโจมตีข้ศึกให้แตหักในเวลาันสั้น ยุทธวิธีนี้ถูกนำมาใช้จนโด่งดังอีกครั้งในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 18 หรือในยคที่ อาวุดินปืนป็นอาวุธหลักในการทำสงคราม พระเจ้าเฟรเดอริกมหาราช กษัตริย์นักรบแห่งปรัสเซีย ชอบใช้ยุทธวิธีนี้มาก

 

บ่อยครั้งที่ กองทัพปรัสเซีย มักระดมกำลังส่วนใหญ่เข้าโจมตีปีกของข้าศึก ซึ่งในยุคของเขานั้น การที่จะระดมกองทัพใหญ่เข้าโจมตีจุดใดุดหนึ่งขอข้าศึกนั้เป็นไปได้ยก แต่กองทัพปรัสเซียในเฟรเดอริกนั้นขึ้นชื่อเรื่องมีวินัยที่เข้มงวด และไ้รับการฝึอย่างหนัก วกเขาเดนทัพและแปรขบวนได้เร็วกว่ากองทัพทั่วไปในยุโรป ในห้วงแรกกองทัพเฟรเดอริกก็จัดแถวหน้ากระดานขนานกับแนวรบข้าศึกเหมือนปกติ แต่เมื่อกำลังเข้าปะทะพวกเขาจะแปรขบวนเป็นแถวตอนลึก และเดินเยื้องไปทางปีกดปีกหนึ่งของข้าศึกเรื่อยๆ แะเมื่อเข้ากล้ระยะโจมี ทหารปรัสเซียแปรขบวนกลับเป็นแถวหน้ากระดาน เพื่อโจมตีปีกใดปีกหนึ่งของข้าศึก ต่ยุทธวธีของเฟรเดริกก็นับว่เสี่ยงแลเคยล้มเหลวมาแล้วหากข้าศึกรู้ตัวเสียก่อน

 

 

การเคลื่อนกำลงส่วนใหญ่เข้าโจมตีปีกใดปีกหนึ่งของข้าศึกแบบเฟรเดอริกมหาราช

ที่มา – http://www.warhistoryonline.com/wp-content/uploads/sites/64/2016/12/battle_leuthen _shift-640×490.gif

ทุกยุทธวิธีที่เกิดขึ้นมาในสงครามนั้นล้วนถูกสร้างมาเพื่อเป็นแนวทางให้นักการทหารได้ใช้ แล้วแต่ว่าแต่ละคนจะนำมันมาปรับใช้อย่างไรจึงจะได้ผล และในบางครั้งันอาจจะสำเร็จหรือล้มเหลวก็ขึ้นกับปัจจัยที่ต่างกันไป