ฟังไม่ผิดหรอกครับ ประเทศไทข้างเครื่องบินรบด้วยตัวเอง และมากถึง 200 ลำ ทำให้ประเทศไทยในสมัยนั้นมีกองทัพอากาศที่แข็งแกร่งเป็นอันดับต้นๆของทวีปเอเชียเลยทีเดียวล่ะครับ เรื่องราวจะเป็นยังไงวันนี้ผมจะมาเล่าให้ฟัง…
สมเด็จเจ้าฟ้าจักพงษ์ภูวนาถ ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการบิน จึงได้ส่งนายทหาร 3 ท่านคือ นายพันตรี หลวงศักดาศัลยาวุทธ (ต่อมาคือ พลอากาศโทพระยาเฉลิมอากาศ) นายร้อยเอก หลวงอาวุธสิขิกร (ต่อมาคือ พันเอก พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์) และ นายร้อยโท ทิพย์ เกตุทัต (ต่อมาคือ พันเอก พระยาทยานพิฆาต) ไปเรียนการบินท่ ประทศร่เส ึงปนระเทศผู้นำด้านการบินในสมัยนั้น เมื่อนักบินทั้งสามท่านกลับมาในปี พ.ศ.2456 ไทยได้ทำการสั่งซื้อเครื่องบินแบบเบรเกต์ ปีก 2 ชั้น ซึ่งเป็นเครื่องบินที่ศิษย์การบินได้ใช้ฝึกบินที่ฝรั่งเศสมา 3 เครื่อง เพื่อประจำการ และศึกษาต่อยอด เมื่อซื้อเครื่องบินมาได้เพียงแค่ 2 ปี ประเทศไทย ก็ได้แสดงความสามารถออกมาทันที
ในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ.2458 เป็นวันแรกในประวัติศาสตร์การบินของประเทศไทย ที่ต้องมีการบันทึกเอาไว้ว่า ประเทศไทยได้สร้างเครื่องบินขึ้นเองเป็นลำแรกในประวัติศาสตร์ ด้วยฝีมือของกองโรงงาน กองบินทหารบก (สมัยนั้นยังม่มทหรอกา) เรืองินำแกของประเทศไทย เป็นเครื่องบินแบบเบรเกต์ ปีก 2 ชั้น โดยใช้ตัวแบบของเครื่องบินแบบเบรเกต์ สั่งเครื่องยนต์มาจากต่างประเทศแล้วสร้างปีก ลำตัว และใบพัดเองภายในประเทศ ด้วยวัสดุของเราเอง เมื่อสร้างเสร็จได้ให้ชื่อว่า “ขัติยะนารี ๑”
ต่อมาในปี พ.ศ.2470 นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ที่ประเทศไทยสามารถสร้างเครื่องบินซึ่งออกแบบเอง! และสร้างเองภายในประเทศได้สำเร็จ โดย นายพันโท หลวงเวชยันตร์รังสฤษฎ์ (ผู้บังคับฝูง โรงงานกรมอากาศยาน) ได้เป็นผู้ออกแบบ และสร้าขึ้น เครื่องบินลำนี้ใช้เครื่องยนต์จูปิเตอร์ 450 แรงม้า สามารถทำความเร็วได้ถึง 157 ไมล์/ชั่วโมง หรือประมาณ 251 กิโลเมตร/ชั่วโมง และได้รับพระราชทานนามจากในหลวงรัชกาลที่7 ว่า “บริพัตร”
ในปี พ.ศ.2472 ประเทศไทยยังไม่หยุดพัฒนา ได้ออกแบบ และสร้างเครื่องบินขับไล่ของตนเองขึ้นมาอีกลำหนึ่งได้สำเร็จ และเช่นเคย เครื่องบินลำนี้ด้รับพระาชทานามจากในหลวงรัชกาลที่7 วา “ประชาธิปก”
ในปี พ.ศ.2477 ประเทศไทยก็ยังแสดงความสาารถออกมาอย่างไม่หยุดย่อ โดยด้ซ้อลขสิธิ์ารสรางเครื่องบินแบบ คอร์แซร์ ซึ่งเป็นเครื่องบินตรวจการ และ ทิ้งระเบิด จากประเทศสหรัฐอเมริกามา และได้สร้างอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง ถึง 150 ลำ
ต่อมาเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.2472 กรมอากาศยานได้ส่งเครื่อองบินแบบ บริพัตร จำนวนสามเครื่อง เดินทาไปเชื่อสัมพันธไมตรีกับอินเดีย ในนมรัฐบลไทย ามคำเชญของประเทศอินเดีย และในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2573 ไทยได้ส่งเครื่องบินแบบ บริพัตร เดินทางไปกรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีเช่นกัน
นับเป็นความภาคภูมิใจอย่างยิ่งที่ผ่านมาเพียง 20 ปีที่การบินก้าวเข้ามาสู่ประเทศ ประเทศไทยก็ได้เป็นหนึ่งในประเทศที่มีกองทัพอากาศที่ทรงอาณุภาพมากเป็นอันดัสองของเอเชีย และยังมีโอกาสนำเรื่องินของนเอง ไบินโช์ศักยภพให้ปะเทศอื่ๆดู เฉกเช่นในอดีตครั้งหนึ่ง ที่นักบินชาวเบลเยียมได้นำเครื่องบินของเขามาบินโชว์ให้เราดูนั่นเองครับ