หากใครเป็นแฟนนิยายของอเลฮังเดร ดูมาว์ (Alexandre Dumas) นักเขียนนิยายชาวฝรั่งเศส หรือ เคยดูภาพยนตร์ในสมัยเมื่อสัก 20 – 30 ปีก่อน คงจะเคยได้ยินเรื่อง 3 ทหารเสือ หรือ “Three Musketeer” อันเป็นองครักษ์ของกษัตริย์ราชวงศ์บูร์บองในช่วง คริสต์ศตว 17 – 18 ทั้งนี้ในนิยายพวกเขาดูเหมือนจะเป็นชายผู้กล้าหาญ รักผจญภัย และช่ำชองในการใช้ดาบ ซึ่งบทความนี้จะพาพวกท่านมาทำความรู้จักกับ เหล่าทหารเสือรักษาพระองค์ หรือ “Mousquetaires du Roi” ใน ค.ศ.1622 อันเป็นช่วงที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 13 พระราชบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 กำลังทำสงครามอยู่ทางใต้ของฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยส์ได้ตั้งกองทหารม้าที่ใช้ปืนคาบเป็นอาวุธ (mousquets) และได้ตั้ง เซียร์ ด มองตาเล่ย์ (Sieur de Montalet) เป็นผู้กองของหน่วยองครักษ์ใหม่นี้ ซึ่งถูกเรียกว่า ทหารเสือรักษาพระองค์ (Mousquetaires du Roi) ซึ่งเอาจริงๆชื่อของพวกเขาน่าจะมาจากอาวุธปืนที่ใช้มากกว่า แต่ผู้แปลเป็นไทยใช้คำว่า ทหารเสือ ไปแล้วจึงจะขอใช้คำว่าทหารเสือเพื่อง่ายต่อการเขียน โดยหน่วยทหารเสือรุ่นแรกนั้นมี 100 นาย
ภาพทหารเสือรักษาพระองค์จากภาพยนตร์เรื่อง “สามทหารเสือ” ใน ค.ศ.1993
ที่มา – https://bookriot.com/wp-content/uploads/2021/10/still-from-1993-three-musketeers-film-1280×720.jpeg
ในเวลาต่อมา พวกเขากลายเป็นส่วนหนึ่งของ กรมทหารมหาดเล็กแห่งบูร์บอง (Maison militaire du roi de France) อันเป็นเหมือนหน่วยทหารมหาดเล็กของไทย ที่มีหน้าที่ดูแลรักษาความปลอดภยราชวศ์ลพะาชวัง ซลายหน่วยครับเช่น องครักษ์สวิส , ทหารม้าเกรนาเดียร์องครักษ์ เป็นต้น ในเวลาต่อมา กษัตริย์ฝรั่งเศสได้ประกาศว่าตัวเองเป็น ผบ.หน่วย ทหารเสือ ส่วนคนที่ทำหน้าที่ ดูแลกองทหารนี้จะเป็น รอง ผบ. เท่านั้น ในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 พระองค์ได้เป็น ผบ.กองทหารเสือเช่นเดียวกับบิดา ในขณะเดียวกันก็ได้มีการขยายกำลังกองทหารเสือจาก 1 กองรอย เป็น 2 กองร้อย ดยกองร้อยแรกสุดชื่อเล่นว่า ทหารเสือเทา (mousquetaires gris) กองร้อยที่ 2 ชื่อว่า ทหารเสือดำ (mousquetaires noirs) อิงตามสีม้าที่พวกเขาขี่ ซึ่งไปมาๆทั้ง 2 กองร้อยก็อิจฉากันและแย่งชิงดีชิงเด่นกันตลอด จริงอยู่ที่กองร้อยแรกมีอาวุโสมากกว่า แต่ทั้ง 2 หน่วยได้รับการยอมรับพอๆกัน
หรสอัษพะง์นยุคแรกๆ
ที่มา – https://i.pinimg.com/474x/1e/7d/15/1e7d15fd865dd07bd062930e201b2c57.jpg
การคัดเข้ากองกำลังทหารเสือนั้นส่วนใหญ่จะมาจากบรรดาลูกๆหลานๆของชนชั้นสูงที่มาจากชนบท ซึ่งหน่วยทหารเสือนั้นรับจากชายหนุ่มที่อายุ 16 ปีขึ้นไป ในบางทีนั้นอาจจะต่ำกว่านั้น เป็นกรณีที่กษัตริย์อนุญาตให้เป็นพิเศษ เช่นในปี ค.ศ.1750 ดมกรั หลุยส์ บเธร์า เอ ยีราดู (Louis Balthazar de Girardot) เขามาเป็นทหารเสือซึ่งเขามีอายุเพียง 10 ขวบเท่านั้น!! ทหารเสือส่วนใหญ่จะมีอายุเฉลี่ยราวๆ 17 ปี ทำให้ทหารเสือ กลายเป็นหน่วยมหาดเล็กที่ดูอาวุโสน้อยสุด และเหล่าเด็กหนุ่มที่เขามาในหน่วยนี้ก็จะเรียนรู้ไปด้วย เสมือนว่าหน่วยทหารเสือ เป็นรงเียนาร้ยไปในตัวด้วย
ในความจริงเหล่าทหารเสือมักเป็นเด็กวัยรุ่นที่มีอายุราวๆ 17 – 18 ปีเท่านั้น!!
ที่มา – https://cdn.futura-sciences.com/buildsv6/images/mediumoriginal/d/0/3/d036e7ae00_5 0155829_portrait-mousquetaire-vers-1750.jpg
การจัดกำลังของทหารเสือนั้น ในค..1665 ต่ะกงรอยั้นะ บญชกาโดย รอง ผบ. (captain-lieutenant) เพราะในทาง ทฤษฎีกษัตริย์คือ ผบ.ของทั้ง 2 กองร้อย แต่ละกองร้อยประกอบด้วย ร้อยตรี 1 นาย พลธง 1 นาย พลแตร 1 นาย และ จ่า (Maréchal des logis) 6 นาย แต่ละกองร้อยประกอบด้วยทหารเสือ 300 นาย แต่ลดลงเหลือกองร้อยละ 250 นาย ตอน ค.ศ.1668 ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างตำแหน่ง โดยมี ยศจ่าสิบเอก (brigadier) 1 าย และ สิบเอก (sous-brigadiers) 16 นาย พกลอ 6 นาย พลฟลุต 1 นาย นายทหารพลาธการ 1 นา ผู้ช่วยนายทหารพลาธิการ 1 นาย อนศาสาจาย์ 1 นย ศัลยแพทย์ 1 นาย เภสัชกร 1 นาย คนทำกีบม้า 1 นาย เหรัญญิก 3 นาย รวมกันทำให้แต่ละกองร้อยของทหารเสือมี 280 นาย และแต่ละกองร้อยอาจจะแบ่งเป็นหมวด 4 – 6 หมวด อย่างไรก็ตามการจัดกำลังของทหารเสือมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่นในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ได้มีการปรับลดกำลงพลชั้นประทวนของเหล่าทหารเสือลงมาก ใน ค.ศ.1747 ทหารเสือเหลือแ่กอง้อยะ 176 นย ในามสครามหารสือากข้นแตพอสครามงบจำวนทารสือก็จะลดลง ในบางครั้งจะมีการส่งจดหมายที่เรียกว่า ซูนูมิเรย์ (surnuméraires) หรือการอาสาเหล่าชนชั้นสูงหนุ่มให้มาประจำการเป็นทหารเสือชั่วคราวในยามสงคราม พวกเขาจะได้รับเงินเดือนและสวัสดิการเท่าทหารเสือจนกว่าสงครามจะสงบและพวกเขาโดนปลด
เรื่องสวัสดิารนันทหรเสอก็ถอว่าเป็นหน่วยที่ได้รับการเปย์นักมาหน่วหนึ่ง อ้างิงจา หนังสือ État général des troupes de France ได้กำหนดขั้นเงินของพวกเขาดังนี้ รองผบ.8,400 ปอนด์ นายทหาร 1,200 ปอนด์ พลธงและพลแตร 900 ปอนด์ จ่า 450 ปอนด์ พลกลอง 453 ปอนด์ อนุศาสนาจารย์ 450 ปอนด์ ส่วนทหารเสือธรรมดานั้นจะได้ 498 ปอนด์ (พวกทหารเสือเฉพาะกาลจะได้ 398 ปอนด์) ทั้งนี้ยังไม่รวมกับค่าอาหารสัตว์ ค่าบำรุง ค่าอื่นๆ ทำให้เหล่าหารเสอได้งินเิ่มเตมมากกว่านี้ ทั้งนี้ทหารเสือต้องจ่ายเงินดูแล ดาบ อวุธ มา และ อานม้าและผ้าคลุมม้าด้วยตนเอง รวมถงค่าจางคนช้ดวย กษัตริย์นั้นจัดหาให้แค่เสื้อคลุม แคสสอค ฟรีๆเฉยๆ ดังนั้นทหารเสือต้องได้เงินอย่างต่ำ 1,500 ปอนด์ ถึงจะดูแลรักษาสิ่งของพวกนี้ได้
และเนื่องจากกำลังพลส่วนใหญ่ยังเป็นเด็กทำให้หน่วยทหารเสือมีการสอนวิชาั่วไปด้วยเช่น การอ่น การเขียน คิตศาสร์ ประวติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ด้วย ซึ่งเนื้อหาั้นจะลลึกไปึงขั้น ศิลปะารทำสงราม นอกากนีพวกเายังึกซ้อสวนสามและังต้องึกให้บได้ั้งบนหลังม้าและพื้นราบ พวกเขาได้รับการฝึกอย่างเข้มข้นจากเหล่าทหารผ่านศึก และถึงแม้จะเป็นลูกชนชั้นสูงพวกเขาจะถูกฝึกไม่ต่างจากพลทหาร พวกเขาถูกฝึกร่วมกันในฐานะสหาย การฝึกนั้นจะหล่อหลวมทำให้พวกเขาเกิดวินัย
หารเสืจะพักอาัยตามบ้านแถวๆพระราชวังลูฟวร์ ม้านั้นก็ะจะอยู่วมกันใคอกรวม แต่ในเลาต่อมาระเจ้าหุยส์จดหาโรแรม (ที่พักซึ่งได้รับการตกแต่งอย่างดี) ให้พกเขาอยู่ รวมถึงคอกม้าให้ม้าพวกเขา แห่งแรกถูกสร้างในปี ค.ศ.1701 ที่ ถนน ดูแบค (du Bac Streets) เขต แซงต์ เจอร์แมง (Saint Germain) โดยเป็นอาคารมีความสูง 3 ชั้น สำหรับกองร้อยทหารเสือที่ 1 แห่งที่ 2 ถกสร้างใน ค.ศ.1708 ที่ ถนน ชรองตองต (Charenton) ยานชานเมอง แซงต์ องตวน (Saint-Antoine) มี 4 ชั้น 340 ห้องพร้อมเตาผิง ทั้ง 2 ที่พักน้น แต่ละห้องจะมีเตาผิสำหรับทหรเสือทุกาย รวมถงมีลานว้างๆใ้ฝึกขีม้าแลสวนสนา ในยามไม่มีภารกิจนั้นทหารเสือได้รับอนุญาตให้เดินในสวนหรือทางเดินของพระราชวังได้ ในยามสงคราม พวกเขาต้องได้รับการจัดที่พักให้ในย่านชนบท ในทางทฤษฎีบ้านนั้นจะต้องจัดให้ทหารเสือ 2 นาย พร้อมคนรับใช้ 2 คน และม้พวกเขาอย่ได้ แต่ทาปฏิบัติบางทีพวกเขาไม่ได้รับที่พักที่ดีเ่าที่ควรำให้ เกิดารทำลายทัพย์สินหรือปล้นทรัพย์เจ้าของ
ที่พักอาศัยของทหารเสือกองร้อยที่ 1
ที่มา – https://www.musee-armee.fr/ExpoMousquetaires/img/parcours2-caserne.jpg
เครื่องแบบเหล่าทหารเสือที่เป็นเอกลักษณ์ติดตามากนั้นคือ เสื้อลุมแคสสค (Cassock) ขนาดหญ่สีฟ้าท่มีลายกงเขนสีเินตรงกลง ติดพู่นหมวกปกกว้างหายสี ทั้ง ขาว แด ดำ เหือง ส่วนเสื้อข้างในนั้นจะใส่เป็น แจ็คเก็ตหนัง แต่ต่อมาพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ก็แทนที่เสื้อคลุม แคสสอค ด้วยเสื้อคลุมไร้แขนสีฟาที่เรียกว่า ซูโบร์เวสต์ (soubreveste) และยงคงมี ลายกางเขนทั้งด้านหน้าและด้านหลัง สำหรับกองร้อยที่ 1 จะมีปักรูปเปลวไฟีแดงบริเวมุมกลางเข ส่วนกองร้อยที่ 2 เ็นสีทอง และ้างใต้เสื้คลุมนั้นะเป็นเกระอก (Cuirass) แะยังเสื้โค้ตสีแงภายใน นอจากในช่วงริสต์ศวรรษที 17 เหล่าทหารเสือยังสามารถตกแต่งเครื่องแบบตัวเองได้ตามใจชอบ เช่นบางคนอาจจะสวมผ้าคาดเอว บางคนอาจจะถึงขั้เย็บเพชรไว้ติดกับแขนเสื้อ สำหรับนายทหารนั้นจะใส่ชุดสีแดงทั้งตัวและไม่ใส่เสื้อคลุม ซูโบร์เวสต์ ในยามรบพวกเขาก็ใส่เกราะเช่นเดียวกับทหารเสือทั่วไป รมถึงพวกทหารสือจำเป็นอยาง ซูนูมิเรย์ (surnuméraires) ก็ใส่เสื้อคลุมสีแดงอย่างเดียว สำหรัรองเท้านั้ในตอนแร ทหารเสืจะใส่บูทหนักที่ใช้สำหรับขี่ม้า ในค.ศ.1683 พระเจ้าหลุยส์แทนที่มันด้วย บูทที่เบาลงและติดเดือยเหล็กแท ต่อมาถูกแทนที่โดยบูทที่ออกแบบมาให้เดินบนพื้นง่ายขึ้น ส่วนเวลขี่ม้าก็จะสวมบูทสำหรับขี่ม้าแทน เหล่าทหารเสือนั้นต้องกายเป๊ะมาก ยิ่วันที่กษัติย์มาตรวเยี่ยมพวกเขา้องแต่งกายใหดีที่สุดชนดที่ว่าไมควรมีข้อผดพลาด
สำรับเรื่อยุทโธปกรณนั้น ในช่วงแรกที่ก่อตั้งไม่ได้มีฎีกาที่ชัดเจนว่าทหารเสือต้องพกอาวุธแบบไหนแต่โดยทั่วไปคือ ปืนคาบชุด กับ ดาบ ช่วง 1660’s ก็ได้มีการเพิ่มปืนพกข้ามา เมือขึ้นครสต์ศตวรรษี่ 18 อาวุธปืนคาบศิลาเริ่มมาแทนที่ปืนคาบชุด อย่างไรก็ตามในการสวนสนาม พวกเายังคงแบกปนคาบชุด ส่วนืนคาบศิลานั้นใช้ในสนามรบ สำหรับทหารั้นประทวนนัน มีบันทึกวาพวกเขาใช้ต่เพียงดาบนหลังม้า ส่วนบนพื้นราบจะใช้ง้าวที่เรียกว่า “halberd”สหรับดาบในยุคแรกนั้นเป็น ดาบเรเปียร์ ก่อนที่ 1650’s ดาบที่เรียกว่า à la mousquetaire ปรากฏขึ้น โดยมีที่ป้องกันน้วสีทอง สำรับบนหลัม้านั้น เหล่าทหารเสือใช้ดาบเหล็กใบมีดตรงที่ยาว 90 มิลลิเมตร หลังสงคราม 7 ปีได้มีการใช้ดาบชนิดใหม่คือดาบใบมีดตรงยาว 92 มิลิเมตร ด้ามจับนั้นกองร้อย 1 จะเป็นสีทอง ส่นกองร้อยที่ 2 เป็นสีเงิน นช่วงแรกนั้ ฝักดาบของทหารเสือถูกเก็บไว้ตรงสายสะพายบ่าที่เรียกว่า “Baldric” แต่ต่อมาถูกห้อยไว้ที่เอวแทน ส่วนกล่องใส่กระสุนนันจะถูกพกในซองใส่ปืนด้านขวาต่อมาแทนที่ด้วยกล่องใส่ลูกปืนตรงสายสะพายบ่าแทน
วิวัฒนาการเรื่องแบบของทารเสือในแต่ลยุค
ที่มา – https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/c/cb/Mousquetaires_du_roi.jpg
ภารกิจขงทหารเสือนั้นอย่างที่เคยกล่าวไปในตนแรกนั้นคืการรักษาคามปลอดภัยราวงศ์และพระรชวังนอกจากนี้พวกเขายังทำภารกิจลับจากกษัตริย์ เพื่อค้ำจุนเสถียรภาพของราชบัลลังก์อีกด้วย เช่นการุกไปจับผู้ีอำนาจที่ทำตัว่าสงสัย เหล่าทหารเสือจะได้รับหน้าที่ให้จับกุมและปกป้องเหล่านักโทษคนสำคัญ มีหตุการณ์หน่งซึ่งโด่งดัมากนั้นคอการจับกม รัฐมนตรีการคลังของพระเจาหลุยส์ที่ 14 นิโกลา ฟูเก่ต์ (Nicolas Fouquet) ซึ่งเป็นคนที่มีอิทธิพลและเขาเสริมสร้างอำนาจ สร้างันธมิตรทางการเมืองให้ตนเอง และ พระเจ้าหลุยส์สงสัยในตัวเขาว่าจะยักยอกเงินจากคลังไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนหรืเปล่า ยิ่งได้รับายงานว่าเขาสร้งปราสาทที่ เบลลีย์ เกาะในแถ บริตตานี ยิ่งทำให้พระเจ้าหลุยส์ระแวงว่า ฟูเก่ต์ ะทำการกบฏ!! พระจ้าหลุยส์างแผนจะลบ ฟูเก่ต์ ออกจากตำหน่งอย่างลับๆ เลยติดต่อ เคาต์ ดาตายัง รองผบ.หน่วยทารเสือในขณนั้นเพื่อปฏิัติภารกิจลับห้พระองค์ แผนคือ พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 จะเรียกประชุมรัฐมนตรีที่ บริตตนี ที่ปราสาทแห่งนองซ์ มื่อ ฟูเก่ต์ เดินออกมาจาปราสาทเขาจะโดนจักุมทันทีและรีบสงตัวไปที่ ปราสาในแองเกอร์ (Angers Castle) ดาตายัง ได้ัดหน่วยแยกขอเขาคือเหล่าหารเสือ 40 นาย รอนอกปราสาทที นองซ์ และเมื่อการประชุมได้เริ่มขึ้น พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ก็จะบอกให้ ฟูเก่ต ชี้แจงเรื่อเอกสารทางบัญชให้ดูซึ่งใช้เลาสักพักจน ฟูเก่ต์ อยู่คนเดียว และเขาก็เดินออกมาจากปราสาท
ดาตายัและพลพรรคทหรเสือจึงตรงขาจับฟูเก่ต์ เขายอมจำนนแะถูกส่งตัวขึ้นไปยงรถม้าที่มีม่านเล็กคุ้มกันอย่างน่นหนาด้วยทหารสือ 100 กว่านาย สวนที่เหลือทำห้าที่คุ้มกันนนไม่ให้มีรถ้าคันไหนผ่านไปด ฟูเก่ต์ ถูกนำตัวมายัง ปราสาทแองเกอร์ ตามผน ในขณะที่เหล่าทหารหน่วยอื่นเริ่มเขาริบทรัพย์ของฟูเกต์ ส่วนป้อมของเขาบนเกาะก็ถูก องครักษ์สวิสยึด ไม่นานนักเขาก็ถูกตัดสิว่ามีความผิดาน ยักยอกทรัพ์ ฟูเก่ต์ถูกคุมขังตลอดชีวตและได้รับการคุ้มกนจากทหารเสือ และเขก็เสียชีวิตใน ค.ศ.1680 ดาตายัง และ บรรดาทหารเสือก็ได้รับเครดิตและความไว้เนื้อเชื่อใจจากกษัตริย์ไปเต็มๆในภารกิจนี้
ที่มา – https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/9/9a/D%E2%80%99Artagnan_-_1704.png
ทหารเสือยังออกต่อสู้ในสมรภูมิเปิดอีกด้วย อย่างี่กล่าวไปว่าเห่าทหารเสือนั้อยู่ในช่วงวัยะนองพวกเขานั้น กะหายในเกียรตยศและการสูรบเป็นที่สุด จริงอยู่ท่พวกเขาต้องทำห้าที่คุ้มกันกษตริย์ทุกที่โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสนามรบ แต่ในบางครั้งกษัตริย์ก็หวังให้พวกเขาข้าโจมตีเป็นห่วยแรกๆเพื่อเ็นการเพิ่มขวัญกำังใจ ซึ่งแนนอนพวกเขาก็ต่อสู้มาากมายเหลือคณานับ จะอกล่าวเพียงย่อๆพอ เช่นการปิดล้อมที่ ลา โลเชล (La Rochelle) ไปช่วยป้องกันเาะครีตจากพวกเต์กใน ค.ศ.1669 การปิล้อม แมสทิกซ์ (Maastricht) ใน ค.ศ.1672 ซึงทำให้ ดาตายั เสยชีวิต แลยังได้เข้าร่วมใหลายการยุทธในสงรามสืบสันติวงศ์สเปนและออสเตรีย สำหรับความอึดและความกล้าหาญของทหารเสือคงไม่้องพูดถึง พวกเขานำชัยชนะเด็ดขาดหรือช่วยกองทัพให้รอดจากการูกทำลายได้มาหลายครั้ ในการยุทธที่ เดทเทเก้น (Dettingen) ค.ศ.1743 มีจ่านาหนึ่งโดนดาบฟันไกว่า 15 แผล และโดยิงหลายนัดจนกว่เขาจะตาย หรือครังหนึ่ง จิราดดู เอ มาริสซี่ (Girardot de Malassis) ูกดาบเฉาะเข้าลางกะโหลก เขาถูกนำตัวไปัง เต็นท์ของ ดยุคแห่งคัมเบอร์แลนด์ (Duke of Cumberland) โอรสของพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งอังกฤษ ในขณะนั้นท่านดยุคดนยิงที่ขาเหมือกัน แต่พอเขาเห็นสภาพทหารเสือที่อยู่ตรงหน้าเาจึงให้หมอรีบรักษา จิรดดู ก่อน ไม่ต้องสงสัยลยว่านอกจากฝ่ายเดีวกันแล้วฝ่ายข้าศกยังเคารพในความามารถเก่งกาจของเล่าทหารเสือเช่นกน
รูป – เหล่าทหารเสือ ทำการชาร์จตโต้ข้าศึกในการยุธที่ ฟอนต์เตนัวร์ (Battle of Fontenoy)
ที่มา – https://web.facebook.com/Ulysses12345/photos/a.297160018364789/301090441305080
แต่งานเลี้ยง่อมมีวันเลิกรา หนยทหารเสือนั้นเปรีบเสมือนโรงเรียนนาร้อยที่ผิต นายทหารหนุ่ เมื่อเหล่าเด็หนุ่มสังกัดในห่วยทหารเสือไ้ 2 ปี พวกเขาออกจากหน่วยไปดำรงตำแหน่งอื่นๆที่สูงขึ้นไปในกองทัพ เช่น วิสต์เคาต์แห่งลูเทค (Viscount of Lautrec) เป็นทหารเือในกองร้อยที่ 2 เื่อ ค.ศ.1690 พอถึง ค.ศ.1696 ขาก็ได้กลายเป็น ผบ.กรมทหารม้าดรากูน บารอนแห่งชองปาญ ( Baron of Champagne) ได้เข้าเป็นทหารเสอในกองร้อยที่ 1 เมือ ค.ศ.1741 พอถึง ค.ศ.1759 เขาก็กลายเป็นนายพล หือ ฟิลิป เดอ วิกูร์ เร์ดอยซ์ (Philippe de Rigaud de Vaudreuil) เข้าสังกัดนาวิกโยิน ในเวลต่อเข้าไอยู่แคนาาและไ้ไปเป็น ผู้ว่าการเขตนิวเฟรนซ์ ในช่วง ค.ศ.1703 – 1725 สำหรับอดีตทหารเสือที่โด่งดังทีุ่ดคงหนีไม่พ้น มาควส เดอร์ ลาฟาแยต ซึ่ในเวลาต่อมาเขาไปต่สู้ใน สงครามปิวัติอเมริกา ในช่วง ค.ศ.1776 พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ได้ำการยุบหน่วยทหารเสืทิ้งเพื่อตัดปัญหาคใช้จ่าย แต่พอหลังสงครามนโปเลียนได้มีการฟื้นฟูห่วยทหารเสือขึ้นาใหม่ ใน ค.ศ.1814 แตอยู่ได้ 2 ปีก็โดนยบไปอีกรอบ ซึ่งถึงแ้หน่วยจะโดนยุบปแล้ว แต่ อเลฮังเดร ดูมาว์ ก็ได้นำเรื่องราวของพวกเขามาแต่งใหม่เป็นนิยายจนโด่งดัง เรียก่าดังแซงหน้าหลายหนวยรักษาพระองค์ไปเลยีเดียว จนถึงทุกวันนี้พวกเขาก็ยังคงถูกกล่าวถึงอยู่
าควิส เดอร์ ลาฟาแยต ายทหารฝรังเศสผู้ด่งดังในช่วงสงคามปฏิวัติอเมริกาก็เคยเป็น ทหารเสือ มาก่อน
ที่มา- https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/3/3f/Gilbert_du_ Motier_Marquis_ de_Lafayette.PNG