จะเป็นยังไงเมื่อไทยลุกขึ้นสู้กับฝรั่งเศส!! ใน “ยุทธเวหาครั้งแรกของประเทศไทย”
ในบทความที่ผ่านมาเราได้เล่าถึงความทันสมัยของกองทัพอากาศไทยในสมัยรัชการที่ 7 ที่สามารถสร้างเครื่องบนรบใช้เองได้ มากถึง 200 ลำ ซึ่งส่งผลให้กองทัพอากาศไทยมีศักยภาพสูงเป็นอันดับสองของเอเชีย บทความนี้เราจะมาเล่าวีรกรรมของเสืออากาศไทยที่ได้แสดงความสามารถ ต่อสู้กับเครื่องบินรบฝรั่งเศสอย่างดุเดือด จนคว้าชัยชนะมาได้ เรื่องราวจะเป็นยังไง วันนี้ผมจะมาเล่าให้ฟัง…
ในปีพุทธศักราช 2480 กองทัพอากาศไทยถือว่าอยู่ในยุครุ่งเรืองสุดๆ เพราะมีความทันสมัย มีเครื่องบินใหม่ และมีเครื่องบินที่ไทยสร้างเองประจำการอยู่หลายลำ ในสมัยนั้นกองทัพอากาศไทยเป็นกองทัพอากาศที่มีอานุภาพมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียเลยทีเดียวรองจากประเทศญี่ปุ่น กระทรวงกลาโหมจึงได้ยกฐานะให้จาก “กรมทาาศ” ขึ้นเป็น “กองทัพอากาศ” แต่ยังไม่ได้มีโอกาสแสดงวีรกรรมมากนัก
ต่อมาในปีพุทธศักราช 2483 ช่วงสงครามอินโดจีน ฝรั่งเศสได้เข้ามาล่าอาณานิคมในแถบประเทศฝั่งบ้านเรา โดยได้ยึด ลาว และ กัมพูชา ไปซึ่งสมัยนั้เป็นส่วหน่ขงระเทศไทย ฝรั่งเศสได้ปกครองพื้นที่เหล่านี้ร่วมกับเวียดนาม โดยตั้งชื่อรวมๆว่า “อินโดจีน” ไม่เพียงเท่านั้นฝรั่งเศสยังชอบส่งเครื่องบินรบรุกล้ำเข้ามาเหนือน่านฟ้าไทย คอยก่อกวนสร้างความเสียหายอยู่ตลอด ไม่ว่าจะเป็นการบินโฉบเฉี่ยว หรือการทิ้งระเบิด ด้วยพฤติกรรมเช่นนี้ ประกอบกับการที่ต้องเสียดินแดนจากการข่มขู่ของฝรั่งเศส ทำให้ชาวไทยซึ่งนสมัยนั้ถูกลูฝัเร่องชาตินิยม ไม่พอใจเป็นอย่างมาก จึงได้ออกมาเดินขบวนเพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลออกมาต่อสู้ เพื่อนำดินแดนที่เสียไปกลับคืนมา
ต้องยอมรับว่าในตอนนั้นฝรั่งเศสเป็นจ้าวเวหาของทางฝั่งยุโรป เทคนโลยีกาำสมยมาก และไทยก็ยังไม่มีประสบการณ์มากนัก เรียกได้ว่าศึกแรกก็เจอกับแชมป์เลยทีเดียว แต่ด้วยศักดิ์ศรี และความเป็นอธิปไตยของประเทศ เสืออากาศไทยก็ได้ต่อสู้อย่างสุดความสามารถไม่หวั่นเกรงต่อข้าศึกแม้จะมีอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ด้อยกว่า จนสามารถสร้างวีรกรรมอันเป็นที่น่าจดจำได้อย่างมากมายในศึกคร้งนั้น โดยยุทธเวาที่ไยตัสินจตอโต้ฝรั่งเศสครั้งแรกคือวันที่ 28 พฤษจิกายน 2483 ฝรั่งเศสส่งเครื่องบิน โมราน 5 เครื่องเข้ามาทิ้งระเบิดเหนือน่านฟ้าจังหวัดนครพนม ประเทศไทยส่งเครื่องบินรบจำนวน 3 ลำ มี ฮอล์ค3 จำนวน 2 ลำ และ คอร์แซร์ 1 ลำ ขึ้นไปสกัดกั้นทันที เครื่องบินทั้งสองฝ่ายเกิดการปะทะกันอย่างดุเดือด ทันใดนั้นเองเครื่องบินของไทย 1 ลำ พลาดหลุดจากฝูงออกมา เครื่องบิฝรั่งเศส 3 ำ ึเ้ไปประกบท้ายทันที กายเปนการต่อสู้แบบ 3รุม1 แต่เสืออากาศไทยก็ไม่หวั่นเกรง คุมสติไว้มั่น และบินหลบหลีกห่ากระสุน พร้อมกับหลอกล่อ จนเครื่องบินของฝรั่งเศสบินถลำ ล้ำหน้าเครื่องบินไทยออกไป จึงทำให้ฝ่ายไทยกลายเป็นผู้ล่าไปโดยปริยาย เครื่องบินไทยอีกลำได้บินเข้ามาสมทบ และช่วยกันยิงใส่เครื่องบินฝรั่งเศสจนเสียหายยกใหญ่ การรบดำเนินไปนานกว่า 17 นที ฝ่ายฝรั่เศก็้อโกแน่บบินหนีไป ผลารรบรากฎวาไทยสามารถยิงเครื่องบินฝรั่งเศสตกได้ 1 ลำ ส่วนฝ่ายไทยไม่ได้รับความเสียหายเลย หลังจากนั้นมา ฝรั่งเศสก็ยังส่งเครื่องบินมาก่อกวนในเขตน่านฟ้าไทยอยู่หลายครั้ง แต่ไทยก็ส่งเครื่องบินขึ้นไปสกัดกั้นได้เสมอ
หึ่งในวรกรรมครั้งสำคัญที่สุดของเสืออากาศไทยคือวันที่ 17 มกราคม 2484 ในครั้งนั้นฝรั่งเศสได้ส่งเครื่องบิน ฟาร์มัง มาทิ้งระเบิดที่อรัญประเทศแบบไม่มีปี่มีขลุ่ย ประเทศไทยจึงจัดเครื่องบิน ฮอล์ค3 และ คอร์แซร์ รวม 14 ลำ พร้อมหิ้วระเบิดไปเต็มท้อง มอบให้ฝรั่งเศส โดยจะทำการทิ้งระเบิดใส่ฐานทัพฝรั่งเศสที่ศรีโสภณ ซึ่งแน่นอน กอทัพฝรั่งเศสได้เตรียม ตอ. ไว้รอตอนรับอ่างเ็มที่ ต่ฝ่ายเาก็ยังสามารถทิ้งระเบิดใส่ ปตอ. คลังอาวุธ และฐานทัพฝรั่งเศส จนยับเยินได้ตามเป้าหมาย และพากันกลับมาครบทั้ง 14 ลำ ซึ่งยุทธเวหาครั้งนี้เป็นการต่อสู้ที่ดุเดือด และสนุกมาก อีกทั้งยังแสดงถึงศักยภาพอันสุดยอดของเสืออากาศไทยได้อีกด้วย โดย ร.ต.ประเสริฐ สุดบรรทัด (ยศในขณะนั้น) ผู้อยู่ในเหตุการณ์ภาคพื้นดินได้บันทึกฉากการรในมมทีตนเงเห็จากบนพ้นไว้อยางละเียดโดยีเนื้อหาังนี้
“…ในตอนเย็น เสืออากาศไทยพาเครื่องบิน ๓ เครื่องพุ่งตรงไปศรีโสภณ พรอมกับโปรไข่เหลกกระหน่เป้าหมายอ่างไม่หวั่นไหวในเสียงปืนต่อสู้ที่ยิงสนั่นฟ้า เครื่องบินของนักล่าเมืองขึ้นโผขึ้นเพื่อสกัดกั้น ๕ เครื่อง ๓ ต่อ ๕ พ่นกระสุนใส่กันอย่างใครดีใครอยู่ แต่ความกล้าที่เหนือกว่ากันแม้กำลังจะด้อยกว่า เครื่องหนึ่งของเราก็จิกหัวยิงในระยะต่ำเพียง ๕๐ เมตร ปล่อยระเบิดลงไปด้วย ๓ ลูก ตรงนั้นต้องเ็นคลังกระสุนของศัตรู เียงรเบิดดงก้อง แผ่นดินสะเทือน กลุมควัน ป.ต.. ของฝรั่งเศสที่ระดมยิงนั้นรายล้อมเป็นวงๆ ราวกับถูกล้อมด้วยรัศมีระเบิด เครื่องบินของเราม้วนลงมาเหมือนนกปีกหัก เราสลดใจไปตามกันที่เห็นจุดจบของเสืออากาศ แต่ก็ยังเหลืออีก ๒ ที่ยังสู้อย่าทรนงองอาจสมชายชาตินักรบ…..แต่เครื่องบินที่เราคิดว่าต้องตกมาแหลกนั้น เมื่อร่วงลงมาจะถึงยอดไม้ กลับเบหัวตั้งหลักได้อ่างปะหลา ยิ่งกว่านั้นยังเร่เครื่องกรหึ่มอย่งแรง เชิดหวโยนบอมบ์เขาไปที่จุดหนึ่งจุดใดที่เสืออากาศของเราได้เห็นแล้ว ตูมเดียวควันดำก็คลุ้มเป็นกลุ่มขึ้นไปในอากาศ เครื่องบินที่คิดว่าจะตกของเรากลับมีลูกเล่นอย่างไม่มีใครคาดฝันสักคนเดียว เสียงร้องไชโยราวกับนัดกันไว้”
ขอขอบพระคุณข้อมูลจาก : ศึกยุธเวหา เสืออากาศไทย vs ฝรังเศส ใน สงครามอินโดจีน – History X-Site (wordpress.com)