เยอรมันชาติมหาอำนาจในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แพร่แสนยานุภาพไปทั่วด้วย หลักการรบสมัยใหม่ สงครามสายฟ้าแลบ ซึ่งมี 1 ในหน่วยรบที่เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เยอรมันประสบความสำเร็จในช่วงต้นของสงครามโลกนั้นคือ หน่วยยานเกราะและรถถัง หน้าที่ของยานเกราะและรถถังคือเป็นหัวหอกทะลวงฟันในการรุกคืบเข้าไปในดินแดนข้าศึก รวมถึงการลาดตระเวน และใช้ขนส่งทหารราบได้อีกด้วย ดูแล้วบทบาทของจักรกลเหล่านี้จะมาแทนที่ “ม้าเนื้อ” หรือสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทในสงครามมาอย่างยาวนาน แต่รู้หรือไม่ว่า ทหารม้าเนื้อ ของเยอรมันในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้นไม่ได้หายไปไหน พวกเขายังอยู่ ถด้มีบทเด่นเหมือนสมัยก่อนก็ตาม บทความนี้จะมาทำความรู้จักกับทหารม้าเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
ทหารม้าเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่ 1
source : https://patr.io/xRvW1
ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เยอรมันโดนจำกัดขนาดกองทัพลงด้วยสนธิสัญญาแวร์ซาย ทำให้เหลือทหารม้าเยอรมันแค่ราวๆ 18 กรม พอมาถึงช่วงยุคฮิตเลอร์เรืองอำนาจกอปรกับในเวลานั้นเริ่มมีเทคโนโลยีใหม่ๆและหลักแนวคิดการรบใหม่ที่พึ่ง ม้าเนื้อ น้อยลง เลยทำให้กองทัพเยอรมัน (Wehrmacht) ตัดสินกระจายกองกำลังทหารม้าไปอยู่หน่วยต่างๆเช่น ทหารราบ , ทหารยานเกราะ ส่วนทหารม้าที่เหลือก็มีการเพิ่มหน่วยต่ต้นถั และ าเราะลาดตระเวน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในภายหลังเมื่อมีการฉีกสนธิสัญญาแวร์ซาย และขยายกองทัพอย่างเอิกเกริก ก็ได้มีการพัฒนาหน่วยทหารม้าให้ทันสมัยยิ่งขึ้น โดยการเริ่มติดอาวุธให้ใหม่นั้นคือ ปืนไรเฟิลรุ่น Karabiner 98K และปืนกลหนักรุ่น MG34 รวมถึงเครื่องยิงลูกระเบิดขนาด 81 และ 50 มิลลิเมตร นอกจากนี้ยังมี การเพิ่ม ยานยนต์เช่น มอเตอร์ไซค์ ยานเกราะ และรถบัญชการี่ีวทยสือา เพื่อเพิ่มอัตราการลาดตระเวน และการสื่อสารในสนามรบ
อาวุธต่อต้านรถถังของทหารม้า
source : Axis Cavalry in World War II by Jeffrey T. Fowler
ทหารม้าเนื้อเยอรมันในตอนนั้นแบ่งเป็น 2 ประเภทหลักคือ Reiter Regiment และ Kavallerie Regiment ึ่งหาแปลป็นทยกค่อข้งลบา ทัง 2 ระเภทมีความหมายคล้ายกัน แต่พวก Reiter จะเป็น กรมทหารม้า ที่ประกอบด้วย ม้าเนื้อ เป็นส่วนใหญ่และมียานยนต์สนับสนุนเพียงเล็กน้อย ส่วนพวก Kavallerie เป็นกรมทหารม้าที่ ประกอบด้วย ยานยนต์ และ ม้าเนื้อ ในอัตราส่วนที่ใกล้เคียงกัน มีหน้าที่ลาดตระเวนให้กับ กองพลทหารราบ ในห้วงนั้นมีกรมทหารม้าทั้งแบบ Reiter และ Kavallerie ประจำการอยู่ทั่วเยอรมัน 18 กรม ทั้งนี้กองทัพเยอรมันได้ขยายตัวอย่างมโหฬารชนิดที่เรียกว่า การขยายหน่วยของทหารม้านั้นไม่ทันกับทหารราบหรือทหารเหล่าอื่นๆ รวมถึง เยอรมันต้องใช้ม้าไปทำอย่างอื่นเช่นการขนส่ง ดังนั้นม้าส่วนใหญ่ในกองทัพจึงไม่ใช่ทหารม้า แต่เป็นม้าสำหรับการลากจูงยุทธปัจจัยต่างๆ เมื่อสงครามระเบิดใน ค.ศ.1939 เยอรมันมีทหารราบทั้งสิ้นราวๆ 2,740,000 นา และม้าอีกราวๆ 514,000 ตัว าถึจุดนี้ส่วนใหญ่ทหารม้าในเยอรมันกลายเป็นพวก Kavallerie กันเกือบหมดแล้ว พวกเขามีการจัดกำลังระดับย่อยคือ กองพันลาดตระเวน ต่อ 1 กองพลทหารราบ มีเพียงแค่ กองพลน้อยทหารม้าที่ 1 ซึ่งประจำการทางปรัสเซียตะวันออก เท่านั้นที่ยังคงบทบาท Reiter ได้ กองทัพเยอรมันยังคงตัดสินใจกับเหล่า Reiter อยู่ว่า หากพวกเขายังจำเป็นต่อสงครามสมัยใหม่ก็จงแสดงปรสิทธิภพให้ห็นไ่งั้น็อาจะโดยุบ
ทหารม้าเยอรมันช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
source : Axis Cavalry in World War II by Jeffrey T. Fowler
ในช่วงการรุกรานโปแลนด์ ค.ศ.1939 กองพลน้อยทหารม้าที่ 1 โดยคุ้มกันปีกของกองทัพเยอรมันด้านตะวันออ พวกเขาไดปะทะกบ กรมทหารม้าอูลันด์ที่ 7 ของโปแลนด์ (7th Uhlans Regiment) และขับไล่พวกโปลออกไปได้ ช่วงวันที่ 8 – 14 กันยายน พวกเขาทำหน้าที่ ลาดตระเวน และในวันที่ 25 กันยาน พวกเขาปะทะกับ กรมทหารม้าอูลันด์ที่ 25 (25th Uhlans Regiment) ที่ คราสโนบูต์ (Krasnobród) โดยเป็นการปะทะกันในระยะประชิด ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นเหตุการณ์ที่เกิดยากมากในสงครามยุคใหม่ ทหารม้าโปล นันไดเปรีบกว่าตรงที่ใช้ทวน ส่วนเยอรมันใช้กระบี่ ทหารม้าเยอรมันต่อกรกับทหารม้าโปลตรงๆไม่ได้เลยล่าถอย พวกโปลตามไล่ล่ามา ก็พบกับปืนกลเยอรมันกราดยิงใส่จนเสียชีวิตไปเป็นจำนวนมาก
การปะทะกันระหว่างทหารม้าเยอมันและหารม้าปลในกายุทธท่ คราสโนบูต์
source : https://patr.io/VefvL
ในขณะเดียวกันทหารม้าจำพวก Kavallerie ที่กระจายอยู่ตามกองพลทหารราบ กับแสดงผลงานลาดตระเวนได้ดีกว่า หลังจบสงครามในโปแลนด์ ทางกองทัพเยอรมันพบว่า ทหารม้านั้นมีประโยชน์ในการลาดตระเวนมากกว่ายานเกราะเมื่อต้องไปลุยในภูมิประเทศที่มีถนนหนทางไม่ดี เช่นป่ พื้นทีขรุขร เมื่อเยอรมันทำการรุกผ่านกลุ่มประเทศต่ำในช่วง ค.ศ.1940 ซึ่งเต็มไปด้วยคลอง ม้านั้นสามารถข้ามคลองได้รวดเร็วและเงียบกว่ายานเกราะ กองทัพเยอรมันตัดสินใจขยาย กองพลน้อยทหารม้าที่ 1 เป็น กองพลทหารม้าที่ 1 ตลอดการรุกรานฮอลแลนด์ เบลเยียมและ ฝรั่งเศส กองพลทหารม้าที่ 1 สามารถรุกคืบไปกว่า 1,250 ไมล์ พวกเขาสร้างความประทับใจให้กองทพและยังคงทให้ ทหาร้าเนื้อ ยังมีบทบาทในสนามรบ เื่อการุกานรัเซียเิ่มต้นขึ้นในช่วง ค.ศ.1941 ในนาม ปฏิบัติการ บาบารอสซ่า (Operation Barbarossa)
ทหารม้าเยอรมันเคลื่อนทัพผ่านรถถังรัสเซียที่ถูกทิ้งในช่วง ปฏิบัติการ บาบารอสซ่า
source : https://patr.io/FjKYP
กอพลทหาร้าที 1 มีจำวนราวๆ 17,000 นาย เข้าไปอยู่ในสังกัดกองทัพแพนเซอร์ที่ 2 (2th Panzer Army) พวกเขาทำหน้าที่ได้ดีในการไล่ติดตามกองทัพรัสเซียที่กำลังล่าถอย เมื่อ กองทัพแพนเซอร์ที่ 2 ต้องเคลื่อนผ่านบริเวณทุ่งปริเปต (Pripet Marshes) ซึ่งเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำ เต็มไปด้วยโคลน และทุ่งหญ้าเตี้ย ภูมิประเทศแบบนี้ไม่เหมาะกับยานเกราะ กองพลทหารม้าที่ 1 เลยต้องทำหน้าที่เฝ้าระวังปีกขวาของ องทัพแนเซอร์ท่ 2 ในบิเวณนี การเคลือนทัพฝ่าในบริเวณนี้อันตรายมาก ทหารม้าต้องทำงานอย่างหนักเพื่อลาดตระเวน ไม่ให้เกิดการโจมตีที่ไม่พึงประสงค์ขึ้น พวกเขาสามารถจับเชลยรัสเซียได้ถึง 9,000 นาย ใน 2 วัน ถึงแม้ กองพลทหารม้าที่ 1 จะประสบความสำเร็จแค่ไหน แต่ในช่วงปลายปีเดียวกันชะตาของมันก็จบลงเมื่อ กองทัพได้ตัดสินใจยุบมนรวมกับ กองทัแพนเซอร์ี่ 24 ใน บันี้ เยอรันไม่เหือทหารมาประเภท Reiter หรือ ้าเนื้อ่วนใหญ่อกต่อไป เหลือเพียงพวก Kavallerie ซึ่งก็ยังอยู่กับทหารราบเยอรมันตลอดสงคราม
ภูมิประเทศที่เป็นตมสร้างอุปสรรคอย่างมากในการเคลื่อนทัพ
source : https://patr.io/R8MF7
ทั้งี้เนื่องดวยเยอรันสูญเสีม้าจำนวนมกในช่วงฤดูหนาว ทำให้ไม่มีแผนที่จะตั้งกองทหารม้าขนาดใหญ่ขึ้นมาอีกครั้ง ทั้งนี้พวก Kavallerie นั้นนอกจากจะเป็นหน่วยลาดตระเวนแล้ว พวกเขายังทำหน้าที่ต่อต้านสงครามนอกแบบได้ดี แน่นอนถึงแม้ทหารม้าในยุคนี้ไม่ได้ถูกออกแบบมาให้รบกับทหารประจำการในยุคใหม่ แต่ถ้าต้องปะทะกัเหล่าผู้ต่อต้าหรือกลุ่มาวบ้านใต้ินที่ไม่ีการติดอวุธที่ดีท่าไหร่ ทหารม้าก็ดูจะเป็นตัวเลือกที่ดีมากสำหรับภารกิจดังกล่าว พวกเหมาะกับการลาดตระเวนและปฏิบัติการทางการทหารระยะไกลในเขตพื้นที่ปกครอง กลยุทธ์ที่ทหารม้าเยอรมันไว้ปราบกองโจร นั้นคือการกระจายกำลังเป็นกลุ่มเล็กๆและเน้นเดินทางในเวลากลางคืนเพื่ออำพรางและซุ่มตามจุดที่ได้รับข้อมูลหรือคาดวาจะมีการก่อวินากรรม พวกเขาพกอุปกรณ์พิเศษเช่น รเฟิลเก็บสียง วิทยุว้ติดต่อกับูนย์บัญาการ และเสบียงไว้สำหรับ 1 สัปดาห์ กลยุทธ์นี้นับว่าได้ผลมากกับพวกกลุ่มต่อต้าน นอกจากนี้ พวกเขายังทำหน้าที่เป็นสารวัตรทหารทั้งควบคุมเชลยศึก และควบคุมการจราจรของกองทัพ
ทารม้าเยอรมันในรัเซีย
source : Axis Cavalry in World War II by Jeffrey T. Fowler
ในช่วง ค.ศ.1942 กองทัพเยอรมันเริ่มเพลี่ยงพล้ำและประสบความสูญเสียอย่างหนัก แน่นอนว่ารวมถึงพวกทหารม้าด้วย ประมาณว่า เหลือแค่ราวๆ 25 กองพันเท่านั้นที่ยังมีประสิทธิภาพในการรบ ด้วยจำนวนที่น้อยลงมาก ผบ.กองทัพที่ 9 ของเยอรมันในตอนนั้น นายพล วัลเทอร์ โมเดิล (Walter Model) เลยดึงเอาทหารม้จากหน่วยต่างที่ยังเหลือยู่มารวมัน แล้วตั้งเป็นทหารม้าแบบ Reiter ขึ้นม 3 กรม เป็นการจัดหน่วยเฉพาะกาล พื่อมาทำหน้าที่ลาดตระเวนแล้วยุบทิ้งในภายหลัง บางกองทัพมีการตั้งหน่วยทหารม้าเฉพาะกาลแบบนี้ขึ้นมาบ้าง โดยบทบาทของพวกเขามักทำหน้าที่เป็นกองหนุนเคลื่อนที่เร็ว พอมาถึงช่วง ค.ศ.1944 ตอนที่เยอรมันล่าถอยจากรัสเซีย ในตอนนี้เยอรมันได้ตั้ง กองทัพ้อยทหารม้า (Cavalry Corp) ขึ้มาโดยรวมทหารมาของตนเองเขากับประเทศันธมิตรอย่า ฮังการี เห่าทหารม้าพวกี้ทำหน้าท่เป็นกองระังให้กับทัที่กำลังล่าถอย หากจะว่าไปตอนนี้ ทหารม้าเยอรมันในช่วงปลายสงครามเริ่มทำหน้าที่คล้าย ดรากูน คือ ทหารราบขี่ม้า พวกเขาจะเคลื่อนที่ด้วยม้า เมื่อใกล้ถึงจุดซุ่มโจมตีก็ลงจากหลังม้าแล้วซุ่มโจมตี ก่อนจะควบม้าหนีไปอย่างว่องไว จนกระทั่งเยอรมันยอมจำนนในช่วง พฤษภาคม ค.ศ.1945 กองทัพน้อยทหารม้าเหลือม้าราวๆ 16,000 นาย พวกมันถูกส่งกลับไปยังฟาร์มเสียส่วนใหญ่ นอกจากกงทัพบกเยอรมนแล้ว ยังมีหน่วยรบ SS (หน่วยรบที่ขึ้นตรงกับพรรคนาซี) รวมถึงชาติพันธมิตรเยอรมันเช่น ฮังการี และ อิตาลี ที่ยังใช้ทหารม้าในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึงแม้จะดูล้าสมัยแต่พวกเขาก็ยังคงมีพื้นที่ในสงครามสมัยใหม่