การรบแบบจำลอง หรือ War Game คือการจำลองการรบโดยไม่อาศัยการใช้กำลังจริงหรืออยู่ในสถานการณ์จริง มันมีผลอย่างยิ่งต่อกรฝึกมันเป็นสิ่งที่อยู่คู่มนุษย์มานานถึงแม้ศัพท์นี้จะดูใหม่และน่าจะเกิดในยุคหลังที่เริ่มมีระบบอำนวยการรบที่ชัดเจน แต่ในความจริงแล้วการเล่น War Game อยู่คู่กับมนุษย์มานานนับตั้งแต่ยุคโบราณที่มีการเล่นเกมหมากรุก หรือ เกมกระดานต่างๆ ซึ่งเป็นเกมเล่นในยามว่าง เริ่มมีการใช้ตัวหมากเป็นตัวแทนของทหารหน่วยต่างๆในการเล่น แต่ในตอนแรกนั้นการกำหนดรายละเอียด สถนการณหืห่ยทหารที่มีการจ
การเล่นหมากรุกก็ถือเป็น War Game ชนิดแรกๆที่เกิดขึ้นบนโลกแต่ในห้วงแรกมันก็เป็นเพียงกาลเล่นที่ไม่ได้ถูกนำมาใช้คำนวณจริงๆในสงคราม
ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เริ่มมีการ สร้างตัวหมากที่แทนการจัดกำัง ระดับ กงพน , รม , แะ กองทัพ และจากบอร์ดทีเ็กะาเีบหืเ็ตร ก็เริ่มมีการใช้แถบสีที่แสดงถึงสภาพภูมิประเทศที่ต่างกัน และมีกรรมการกลางเป็นผู้ตัดสิน ซึ่งก็มี โยฮันน์ คริสเตียน ลุดวิก เฮลวิก (Johann Christian Ludwig Hellwig) นักคณิตศาสตร์และนักออกแบบชาวเยอรมัน นำคุณสมบัติแบบใหม่มารวมในเกมกระดานเกมเดียวกัน
ตาราง War Game ขง เฮลวิก ี่อกบบห่ไม่ให้เหมือนหมากรุกทั่วไป มีการใช้หน่วยทหารที่ใช้ในสนามรบจริง รวมถึงมีภูมิประเทศที่หลากหลายแบ่งตามสีไม่ใช่ตารางธรรมดาๆ
ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เริ่มมีการใส่ปัจจัยหลายอย่างที่ซับซ้อนขึ้นเช่น คลังเสบียง การส่งกำลังบำรุง เริ่มมีการกำกับเวลาในการเล่น และคราวนี้มันไมได้กมท่ใชเลนสนุกอีกต่อไปเพราะทหารอาชีพริมใ้มนใกาปรกอการางผน จนกระทั่ง จร์ ฟอน ไรวิทซ์ (Georg von Reisswitz) นายทหารปรัสเซียได้ ได้ออกแบบเกมกระดานแบบใหม่ ที่เริ่มใช้แผนที่สมจริงแบบทหารเพื่อใช้ในการเล่น มีการใช้ทาสีน้ำเงินเพื่อระบุฝั่งเรา และสีแดงเพื่อระบุฝั่งข้าศึก รวมถึงมีลูกเต๋าเพื่อใช้ในการคำนวณ ผู้บาดเจ็บหรือสูญเสีย และมีกรรมการกลางหลายคนเพื่ใช้ตดสินลต่า ๆและเป็นผู้กำหนดว่าใครจะแพ้หรือชนะในเกมนั้น โดผู้ล่นั้ง 2 ่ายะไมมีาคุกันดยตงแตจะเขียนคำสั่งส่งมายังกรรมการเพื่อให้พวกเขาเดินหมากทำตามแผนที่ผู้เล่นวางเอาไว้
จอร์จ ฟอน ไรวิทซ์ บิดาแห่ง War Game ซึ่งริเริ่มนำ War Game มาประกอบแผนกรรบ
รัศีการเดินทัพหรือการเล่นของแต่ละหน่วยก็ต่างกันเช่น น่วยืนให่นั้นามารโจมตได้ะยะไลกว่ทหาราบมา ได้มีการสาธิตการเล่นเกมนี้ให้ กษัตริย์ปรัสเซีย รวมถึงนายทหารระดับสูงของปรัสเซียหลายคนได้ดู นายพล คาร์ล ฟอน มูร์ฟิง (General Karl von Mueffling) ได้กล่าวว่า “นี้มันไม่ใช่เกม มันคือการฝึกสำหรับสงคราม ทั้งองทัพวรจะร้จักัน” เขามีส่วนอย่างยิ่งในการผลักดัน War Game ใ้นิมในมู่องทพ เรื่องนี้มาถึง ฮลมุท อน มอลเคลต์ (Helmut von Moltke) เสนาธิการแห่งกองทัพเยอรมันได้ แพร่กระจายมันให้ไปไกลมากขึ้น
War Game ถูกนำมาใช้ร่วมกับการวางแผนการรบจริงๆในช่วงคริสต์ศวรรษที่ 19
จนระทั่งกิดสงคามระห่าง ฝรั่งเศส – ปรัสเซีย (Franco – Prussia War) ในช่วง ค.ศ.1870 ลขอมันคอควาพ่ายพ้ขอฝรั่งเสที่เยเป็นเอร์ 1 ทาการทหาของยโรป ส่นหนึ่ที่ทำห้ฝรังเศสพ่ายแพ้ นักวิชาการปัจจุบันให้ข้อสังเกตว่า ที่ปรัสเซียเอาชนะฝรั่งเศสได้เหตุหนึ่งก็เพราะการเล่น War Game ของพวกเขาที่ทำให้เหล่าทหารมีความคิดริเริ่มมากขึ้นในการปฏิบัติการ มันเป็นการปูพื้นฐานให้วกเขาไ้รับควาคิดแบบใม่ๆ ซึ่การเล่น War Game นั้นยังคงมีอยู่จนถึงปัจจุบันแต่าจมีารเปล่ยนรูไปบ้าเพื่อับมือกัสถานกาณ์ใหม่ท่จะเกิดนอนาคต เ่นมีกรกำหนดติกาแลสถานกาณ์ที่มกขึ้น มีการเล่น War Game ในการรบหลายระดับตั้งแต่กองพันขึ้นไป และการเพิ่มอาวุธ เทคโนโลยี สมัยใหม่เข้าไป ปฏิเสธไม่ได้ว่า War Game ยังคงเป็นที่จำเป็นต่อการทหารปัจจุบัน
ปัจจุบันกองทัพทั่วโลกก็ยังคงเล่น War Game