X

CPX การ Simulator รบในระดับกองพัน

สงครามเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นไม่บ่อยครั้งนักในยุคสมัยใหม่ แต่ทหารนั้นต้องก็เช่นเดียวกับอาชีพอื่นที่ต้องมีการฝึก มีการพัฒนาทักษะของตนเอง หลายคนอาจจะนึกว่า ทหารคงแค่ฝึกยิงปืน ฝึกยิงอาวุธประจำหน่วย ฝึกขับรถถัง ฝึกโด แต่กองทัพนั้นแน่นอนว่าไม่ได้รบแค่ระดับบุคคล แต่ต้องรบเป็นหมู่คณะไม่ว่าจะเป็น หมู่ เป็น หมวด หรือ เป็นระดับกองพัน  ดังนั้นจึงเกิดสิ่งที่เรียกว่า CPX หรือ Command Post Exercise ขึ้นมาเพื่อเป็นการฝึกให้ทหารสามารถฝึกทำการรบได้ในสเกลที่ใหญ่กว่าแค่ระดับบุคคล

 

การฝึก Command Post Exercise ของกองทัพสหรัฐฯ

ที่มา – https://www.gannett-cdn.com/authoring/2019/04/06/NTFO/ghows-NC-85a0e3c2-226b-09ae-e053-0100007fc511-ae8b2f9a.jpeg?width=660&height=495&fit= crop&format=pjpg&auto=webp

 

 

สำหรับการฝึกของหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน กองทัพเรือไทย นั้นก็มีการฝึก CPX ซึ่งแปลตรง ๆ เป็นภาษาไทยคือ การแก้ปัญหาทีบงักร  มันคือการจำลองกรบนะัอกองพันขึ้นไป โดยจะมีการกำหนดสถานการณ์จากหน่วยเหนือมาให้ เช่น การเข้าตีข้าศึก การตั้งรับข้าศึก หรือการกระทำอื่น ๆของข้าศึกโดยหน่วยเหนือจะให้ข่าวสารข้อมูล กำลังรบข้าศึก สภาพพื้นที่ปฏิบัติการ ภูมิประเทศ และ ภูมิอากาศ ในตำบลที่จะทำภารกิจมาโดยสังเขป ก่อนที่จะให้ ผู้รับการฝึกคิดพิจารณาว่าควรจะปฏิบัติภาริจที่หน่วยเหนือมอบหมายมาให้ประสบผลสำเร็จอย่างไรโดยใช้วิธีไหน

 

ผู้ที่เข้าร่วมการฝึกต้องแก้ไขปัญหาและพิจารณาปัญหาต่าง ๆ ที่ออกมาตามขั้นตอนเสมือนรบจริงโดยมีกรรมการคอยตัดสินว่า การตัดสินใจแก้ไขปัญหาของผู้ฝึกนั้นสมเหตุสมผลหรือไม่ เพราะถ้าไม่สมเหตุสมผลผิดหลักการรบ ไม่สามารถปฏิบัติได้จริงหรือทำให้เกิดความสูญเสียเยอะเกินไป  โดยการฝึก CPX ของหลักสูตรช้นนายเรอพรคาวกโธิน จะเป็นการฝึก CPX เสมือนกับการรบในระดับกองพัน โดยผู้รับการฝึกจะได้รับบทบาทดังนี้

 

 

1.รอง ผู้บังคับกองพัน ทำหน้าที่เป็นเสมือนตัวแทนผู้พัน คอยคุมวินัย กำกับเวลาการทำงาน และเป็นหัวหน้าฝ่ายอำนวยการต่าง ๆ ในกองพัน

2.นายทหารกำลังพล (ฝอ.1) ทำหน้าที่ดูแลเรื่องกำลังพล เช่น ยอดบัญชีกำลังพล ความเป็นอยู่ของกำลังพล เชลยศึก ควบคุมวินัยกำลังพ ไม่ให้ออกนกลูนอกาง

3.นายทหารการข่าว (ฝอ.2) ทำหน้าที่เสมือนหูและตาของกองพัน ำหน้าที่รวบรวมข่าวสารต่าง ๆ ของข้าศึก รวมถึง ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ปัจจัยต่าง ๆ ที่จะมีผลกระทบต่อการปฏิบัติภารกิจ

4.นายทหารยุทธการ (ฝอ.3) ทำหน้าที่นำข่าวและข้อมูลของ ฝอ.2 มาวิเคราะห์หนทางปฏิบัติที่จะเป็นไปได้ที่จะทำให้ฝ่ายเราสำเร็จภารกิจ นำกำลังพล อาวุธสนับสนุนต่าง ๆ ในกองพัน มาวางแผดำเนินกลยุทธ์ก่อนเสนอ ผบ.พน

5.นายทหารการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.4) ทำหน้าที่การส่งกำลังบำรุงของกองพัน เช่น น้ำมัน กระสุน การส่งกลับสายแพทย์ เสบียง หรือ ยุทธปัจจัยต่าง ๆ ที่จำเป็น

 

 

 

แผนผังการจัดกำลังฝ่ายอำวยการระดับกองพันจากหลักสูตร กงฝึกบรมนายทหารสำรอง (ROTC) ซึ่งจะคลายลึขอไทนันื มี อ ผ.พัน เป็นหัวหน้าฝ่ายอำนวยการ และมีฝ่ายอำนวยการ 1 – 4 แต่ที่เพิ่มมาคือ ฝอ.5 และ ฝอ.6 ซึ่งของไทยไม่มี

ที่มา – https://steamuserimages-a.akamaihd.net/ugc/914669046656910004/D6AB9EC8DE419C369ED171DD9B24F9538DC3D4FA/

 

 

และนอกจากนี้กองพันอาจจะได้รับห่วยอื่น ๆ มาสมทบเช่น นายทหารการยิงสนับสนุนจากปืนใหญ่ นายทหารสื่อสาร หรือ นายทหารช่ง ที่ชำนาญเฉพาะทาง มสมบาภากิทีห่ยเหนือมอบให้ ซึ่งการทำงานของ นายทหารฝ่ายอำนวยการทั้ง 5 และคณะนายทหารอื่น ๆ จะวิเคราะห์สถานการณ์  เสมือนอยู่ในสถานการณ์รบจริง ๆ โดยข้อมูลที่ ฝอ.2 ได้รับมานั้นจะมาจากครูฝึกเปรียบเสมือนกับเป็นสายข่าวหรือชุดลาดตระเวนในสนามรบที่ส่งข่าวแะข้อมูลต่างๆมาให้ วิเคราะห์ ส่น ฝอ.3 ็จะวาแผนการดำเนินกลยุทธ์โดยมีคำแนะนำจากครูฝึก สานภากำลงพล นั้นครูฝึกก็จะกำหนดให้ อ.1 รมถงกะสุนยุทธปัจจัยรวมถึงตำบลส่งกำลังบำรุงก็เช่นกัน

 

 

จะมีการวิเคราะห์แผนที่ภูมิศาสตร์ต่างๆเพื่อให้ ฝ่ายอนวยการแต่ละคนนำมาวางแผนใส่วนองตน

ที่มา – https://media.defense.gov/2022/Sep/07/2003071364/-1/-1/0/220609-A-OD491-001.JPG

 

 

อ.ทั้ง 4 สายจะทำงานประสานกันโดยแต่ละคนต้องสอบถามข้อมูลของแต่ละคน เพื่อนำไปแผนของตนเอง และท้ายสุดแล้ว ฝอ.3 ซึ่งเป็นคนที่ทำแผนการดำเนินกลยุทธ์ก็จะนำแผนของ ฝอ.แต่ละคนมาประมวล และวางแผนดำเนินกลยุทธ์ออกมาอาจจะไ้ 2 – 3 แผน หลังจากนั้น ฝอ.3 นำ แผนั้งหมไปนำเนอต่อู้พัน โดย ฝอ.แต่ละคนนั้นมีสิทธิโหวตว่าตนเห็นด้วยกับแผนไหนที่ ฝอ.3 วางเอาไว้ โย ฝอ.แต่ละคนจะเลือกแผนที่เหมาะกับสายของตนเช่น ฝอ.2 ที่เลือกแผนที่เหมาะกับการหาข่าว หรือ ฝอ.4 ก็จะเลือกแผนที่สามารถส่งกำลังบำรุงได้สะดวก แต่ท้ายสุดคนที่ตัดสินใจว่าจะใช้แผนไหนก็คือ ผบ.พัน ซึ่งไหนผู้นี้อาจจะเป็นครูฝึก

 

หลังจากเลือกใช้แผนแล้ว ก็จะนำแผนนั้นมาทำการรบจำลองการรบหรือ Simulator โดยจมีการสร้างแผนที่ขนาดย่อส่วนจำลองออกมาก่อนที่จะมีการวางตุ๊กตาหรือหน่วยทหารของเรา ามท่ ฝ.3 วงแผไว้ และฝ่ายข้าศึกตามข่าวที่ ฝอ.2 หามาได้ หลังจากนั้นก็จะเริ่มสถานการณ์รบโดยอาจจะใช้เวลาจริงหรือเวลาสมมุติ เช่น 1 วัน อาจจะเท่ากับ 1 ชั่วโมงเป็นต้น โดย ฝอ.3 จะเป็นผู้ดำเนินตามแผนที่ตนวางเอาไว้ตามกำหนดเวลาตางๆ และ ครูฝึก จะเป็นคนกำหนดสถาการณ์ขาศึกว่จะตอบโ้การกระำอย่างไร ฝอ.3 ก็จะต้องแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในระหว่างการฝึกจนกว่าสำเร็จภารกิจ ดยี ฝอ.อื่นๆเป็นผู้แนะนำ ทายสดภาริจอาจจะล้มเหลวหรือสำเร็จก็ได้ขึ้นกับการตัดสินใจของครูฝึก

 

 

การฝึกรบแบบ Simulator หรือ War Game เป็นการฝึกรบจำลองบนแผนที่โดยให้ ฝอ.3 ทำหน้าที่ใช้แผนดำเนินกลยุทธ์ตามที่ตนเองได้วางเอาไว้ ส่วนรูฝึกะเป็ข้าศกซึ่จะกหนสถาการณ์์ต่งๆใ้แก้ข

 

กรฝึก CPX นั้นเรียกได้ว่าเป็นการฝึกรบในที่บังคับการ เพื่อให้เหล่าฝ่ายอำนวยการต่างๆได้ซ้อมการวางแผนการรบก่อนที่จะสามารถนำแผนดังกล่าวไปใช้กับทหารได้จริง เป็นการฝึกที่อาจจะไม่เสียเหงื่อแต่ใชหัวคิดมกจนเรียได้ว่ามความลำบาไม่แพ้กัน