ปกติในการรบพุ่งหรือสงครามมักจะมีเหตุการณ์ที่เรียกว่า “Friendly Fire” หรือยิงพวกเดียวกันเองค่อนข้างบ่อย เนื่องจากการรบจริงนั้นไม่เหมือนสนามฝึกที่มีการควบคุมอย่างเข้มงวด เหตุการณ์ที่เกิดในสมรภูมิมักจะเกิดเหนือความคาดห่ทันตั้งตัว ยิ่งทำให้เกิดความสับสนมึนงง ขนาดสมัยนี้ที่ว่ามีเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารที่เพียบพร้อมแล้วยังเกิดเหตุการณ์ “Friendly Fire” ได้นับประสาอะไรกับยุคก่อนที่ไม่มีคลื่นวิทยุ ดาวเทียม GPS การยิงกันเองปะทะกันเองจึงเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นบ่อย ซึ่งบทความนี้จะมากล่าวถึงเหตุการณ์ “Friendly Fire” ที่แบบอาจจะเรียกได้ว่าเป็นการยิงกันเองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นผลีนคาพาแ้าูกงัทั้งกองทัพนั้นคือ การยุทธที่ คารานเซเบส ( Battle of Karansebes)
ในช่วง ค.ศ.1788 ในขณะนั้น จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ภายใต้การนำของพระเจ้าโจเซฟที่ 2 แห่งราชวงศ์ฮับส์บูร์ก (Habsburg Monarchy) ซึ่งต่อไปจะขอเรียกจักรวรรดิของพระองค์ว่า ออสเตรีย ในช่วงเวลานั้น ออสเตรีย ต้องเจอกับปัญหาตึงเครียดกับปรัสเซียซึ่งเป็นคู่อริทางเหนือนอกจากนี้ เขตเนเธอร์แลนด์ที่ออสเตรี ปกรอก็ังกิกบ แต่แล้วสงครามระหว่างจักรวรรดิรัสเซียและออตโตมันก็เกิดขึ้น ซึ่งในห้วงนั้นออสเตรียเป็นพันธมิตรกับรัสเซีย ซึ่งการทำสงครามกับออตโตมัน อาจจะทำให้ภาพลักษณ์ของออสเตรียกลับมาดูแข็งแกร่งขึ้น และออสเตรียจะได้ขยายอิทธิพลเข้าไปในบอลข่านเพิ่มเติมอีกด้วย ดังนั้นใน ค.ศ.1788 ออสเตรียประกาศสงครามกับจักรวรรดิออตโตมัน
แผนที่ยุโรปในช่วง 1780’s เห็นได้ว่า ฮับส์บูร์ก (สีส้ม) มีพื้นที่ติดต่อกับ ออตโตมัน (เขียวอ่อน) นำมาสู่ข้อพิพาทบ่อยครั้ง
ที่มา – https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/4/44/Europe_1783-1792_en.png
แต่ทั้งนี้ต้องมาทำความเข้าใจธรรมชาติของกองทัพออสเตรียเียกอน เพราะราชวงศ์ฮับส์บูร์กน้นปครอดิแดทีกวางวางและหลายเชื้อชาติผู้คนเหล่านี้ถูกมัดรวมกันด้วยสถาบันกษัตริย์ของฮับส์บูร์ก แต่มันก็ทำให้กองทัพออสเตรียนั้นมีพื้นฐานการจัดกำลังหรือพื้นเพที่ต่างกันมาก กองทัพออสเตรียประกอบด้วย ชาวเยอรมัน ซึ่งถือเป็นส่วนใหญ่นายทหารและผู้บัญชาการระดับสูงมักเป็นชาวเยอรมัน ยังมีชาวฮังการี ชาวอิตาลี ชาวโคแอต ชาวโล ฯลฯ ทำให้บ่อยครั้งเกิดความสับสในกาบังคบบัชา อย่างไรก็ตามในช่วงกันยายน ค.ศ.1788 พระเจ้าโจเซฟที่ 2 ได้นำกองทัพด้วยตัวเอง กองทัพนานาชาติของเขานั้นมีขนาดราวๆ 80,000 – 100,000 นาย กองทัพของพวกเขาเดินทางมาถึงเมือง คาเรนเซเบส ประเทศโรมาเนีย ในปัจจุบัน และก็ได้ข่าวว่ากองทัพออตโตมันอยู่ใกล้ๆ พวกเขาเลยตั้งค่ายรอที่ แม่น้ำทีมิส (Timiş River)
กองทัพฮับส์บูร์กออสเตรียประกอบด้วยหลายเชื้อชาติที่ต่างกัน
ที่มา- https://i.pinimg.com/736x/83/06/d0/8306d0dd55d2f5819dd9ff1c59ea3fa9–troops-warriors.jpg
ในช่วงวันที่ 21 กันยายน อสเตรีย ได้ส่ทหารมาออกปลาตระวนหาข่าวของพวกออตโตมัน ซึงในคืนั้น ทารม้ของพกเขก็ไ่พบะไรนอกจากพวกเร่ร่อนยิปซี ซึ่งขายเหล้าให้พวกเขา!! ทหารม้าเลยพากันพักผ่อนและดื่มด่ำกับสุรา ผ่านไปไม่นาน มีทหารชาวโรมาเนีย ในสังกัดกองทัพออสเตรียเดินทางมาถึงและเห็นเหล่าทหารม้ากำลังเมาได้ที่พวกเขาเลยขอให้ทหารม้าแบ่งปันเหล้าให้พวกเขาบ้าง แต่ทหารม้าไม่ยอม!! เลยเกิดการทะเลาะ่อยตีกน!! จนกะทั่มีทหรโรมาเนียคนหนึ่งตะโกนออกมาว่า “Turci!! Turci!!” หือ พวกเติร์ก!! ซึ่งก็ไม่รู้ว่าตะโกนมาเพราะสาเหตุอะไร แต่ด้วยความที่ตอนนั้นเป็นเวลากลางคืนแถมทหารบางส่วนกำลังเมาได้ที่ พวกเขาเลยหยิบปืนขึ้นมายิงกัน!! กลายเป็นการปะทะที่นองเลือด จากต้นเหตุแค่เพียงแย่งเหล้ากันเท่านั้น!!
กอทัพออสตรียในงครามอรโต – เติ์ก
ที่มา – https://allthatsinteresting.com/wordpress/wp-content/uploads/2019/01/austrian-invasion.jpg
ทหารบางส่วนกำลังสับสนได้หนีข้ามแม่น้ำ ทีมิส กลับมายังค่าย ซึ่งในขณะนั้นนายทหารเยอรมันที่ยืนดูเหตุการณ์อยู่ก็ตะโกนให้พวกขาหยุดซึ่งในภาษาเยอรมันจะออกเสียงว่า “Halt!! หรือ ฮอล!! แต่แน่นอนด้วยความเมา ความมืดแะความสบสนแต่แก รวมถึงหารบางนก็ฟัภาษาเอรมันม่ออก เลยไปเข้าใจว่า Halt คือ Allah!! หรือ อัลเลาะห์ ศาสดาของศาสนาอิสลาม ที่พวกเติร์ก นับถือ เกิดเป็นความสับสนยกใหญ่พากันหนีตายข้ามแม่น้ำกันอลหม่าน เกิดการยิงปะทะกันประปราย แต่เสียงปืนในยามค่ำคืนนั้นย่อมไม่ใช่เรื่องปกติ ที่ค่ายใหญ่ของออสเตรียที่ คารนเซเบส เห็นว่ามีการปะทะกันไกลๆตรงแม่น้ำทีมิส มิหนำซ้ำยังมีทหาม้าควบมามาบอกข่วว่า “พวกติร์กกำังมา!!” ลยเกิดารระดมิงปืนใหญ่ไปที่ฝั่งตรงข้ามแม่น้ำ!! ในคืนวันนั้น กองทัพออสเตรียกว่า 80,000 นาย ล่าถอยออกจาก คาเรนเซเบส ด้วยความสับสน
2 วันให้หลังกองทัพเติร์กได้เดินทางมาถึงเมือง คาเรนเซเบส และพบกับศพของทหารออสเตรียนอนตายเกลื่อนซึ่งาดว่าเสียชีวิตราวๆ 1,000 – 2,000 นาย ต่บางตนานกลาวว่าสียชีวิตถึง 10,000 นายทีเดียว!! พวกออตโตมันเติร์ยึดเมือง าเรนเซเบส ได้อย่างง่ายดายโดยไม่สูญเสียชีวิตเลย!! อย่างไรก็ตามการยุทธนี้ไม่ได้ส่งผลต่อสงครามมาก เพราะส่วนใหญ่ทหารเสียชีวิตด้วยโรคระบาด รวมถึงพระเจ้าโจเซฟที่ 2 เองเสียชีวิตใน ค.ศ.1790 และปีต่อมา พระเจ้าเลโอปอลด์ที่ 2 อนุชาของ โจเซฟที่ 2 ครองราชย์แทนและได้สงบศึกับพวกเติร์กโดยได้ดินดนเพียงเ็กน้อย มนักประัติศาสร์บางคนกล่าวว่าการยุทธนี้อาจจะดูถูกแต่งเติมจนเว่อร์เกินจริง แ่มันก็แสดให้เห็นวา ความสำัญในการื่อสารหข่าว รวมถึงการไม่ดื่มสุราในขณะปฏิบัติหน้าที่นั้นสำคัญเพียงไหน มิฉะนั้นอาจจะจบไม่สวยแบบกองทัพออสเตรียที่ คาเรนเซเบส
กองทัพเติร์กเดินทางมาถึงในภายหลังและพบว่าไม่มีใครอยู่แล้วนอกจากศพทหารออสเรีย
ที่มา – https://idsb.tmgrup.com.tr/ly/uploads/images/2021/10/25/thumbs/800×531/154699.jpg