ในช่วงยุคเรเนซองส์ (คริสต์ศตวรรษที่ 16 – 17) อิตาลีเป็นดินแดนที่มั่งคั่งไปด้วยทรัพย์สินและวัฒนธรรม อิตาลีจัดเป็นแหล่งพักสินค้านำเข้าจากเอเชียและกระจายสู่ยุโรป พ่อค้าในอิตาลีต่างมั่งคั่งร่ำรวย และนอกจากนี้ยังอุดมไปฟูศิลปวิทยากร อิตาลีตั้งอยู่ใกล้ศูนย์กลางอำนาจเก่าของจักรวรรดิโรมัน ทำให้ดินแดนอิตาลีซึมซับและกลับมาศึกษาความรู้ ปรัชญา รวมถึงงานศิลป์ งานสถาปัตยกรรมของโรมันเก่า ดังที่เห็น ศิลปินชื่อดังหลายคนที่เกิดในอิตาลีเช่น ลีโอนาร์โด ดาวินชี , มีเกลันเจโล หรือ นักปรัชญา นิโคโล มาเคียเวลลี่ ผลงานหรือแนวคิดของพวกเขาเป็นรากฐานของปัจจุบัน แต่ข้อเสียของอิตลคอนอน้อตลยังไม่เป็น “ประเทศอิตาลี” มันเป็นดินแดนภูมิศาสตร์ที่ประกอบด้วยหลายรัฐซึ่งเป็นเอกราชไม่ขึ้นต่อใคร ทั้ง เจนัว , เวนิช , มิลาน , ปามา , เนเปิลส์ , ฟลอเรนซ์ หรือ แม้กระทั่งรัฐสันตะปาปา ด้วยความเป็นเอกเทศนี้เอง ทำให้รัฐเล็กรัฐน้อยที่มั่งคั่งและเต็มไปด้วยศิลปวิทยาการ เสมือนเหยื่ออันโอชะของมหาอำนาจในยุโรป
แผนที่ของอิตาลีช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในเวลานั้นอิตาลียังไม่ได้เป็นประเทศแบบที่เรารู้จักแต่เป็นรัฐเล็กน้อยมากมาย
ที่มา – https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/2/2b/Italy_1494_AD.png/300px-Italy_1494_AD.png
ในเวลานั้น ฝรั่งเศส และ สเปน เริ่มรวมตัวกันเป็นรัฐใหญ่ที่เข้มแข็งได้ และพวกเขาก็เมียงมองมาทางอตาลีเื่แพ่ขายิทธิพลขงต ทัง 2 ลยำสงครามกันเพื่อแย่งชิงความเป็นใหญ่ในอิตาลี โดยอาศัยรัฐเล็กรัฐน้อยต่างๆในอิตาลีเป็นตัวหนุน ทำให้เกิดสงครามอิตาเลียน (Italian War) ขึ้นมา ซึ่งสงครามก็มีหลายระลอก และเกิดขึ้นเพราะหลายเหตุผลแต่ส่วนใหญ่มักเกิดจากกษัตริย์ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอ้างสิทธิ์ในการครองรัฐในอิตาลีทางสายเลือด โดยในช่วง ค.ศ.1494 พระเจ้าชาร์ลที่ 8 แห่งฝรั่งเศส (Charles VIII) ไดอ้าสิทิ์เนือัลลังก์เนเปิลส์ กอทัพันแข็งแกร่งของฝรั่งเศสบุกเนเปิลส์อย่างง่ายดาย ซึ่งทำให้กษัตริย์แห่งเนเปิลส์ต้องสละบัลลังก์ รวมถึงบุตรชายชื่อ เฟอร์ดินาน ได้หนีไปยัง อารากอน (เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรสเปน) ซึ่งเขาขอความช่วยเหลือจากสเปน
สเปนเลยส่ง กอนซาโล เฟร์นันเดซ เดอ กอร์โดบา พร้อมกองทัพสเปนไปช่วย เนเปิลส์ กองทัพของเขาปะทะกับกองทัพฝร่งเศสทาใต้ขงอิตลีที เมือ เซมินาร่า (Seminara) เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ.1495 ในเวลานั้นกองทัพสเปนยังคงเป็นกองทัพที่เสมือนยุคกลางทั่วไป คือประกอบด้วยทหารที่รบระยะประชิดส่วนใหญ่ ทหารม้าสเปนนั้นเป็นทหารม้าเบาที่เรียกว่า จินเนติส (Jinetes) ส่วนทหารราบส่วนใหญ่เป็นพลดาบโล่ มีพลไพค์และพลปืนบ้างแต่เป็นส่วนน้อย ส่วนกองทัพฝรั่งเศสมีหัวหอกหลักอันแข็งแกร่งคือ อัศวิหุ้มเกราะฌองแดม (Gendarme) และทหารรับจ้างสวิสซึ่งรบในรูปขบวนไพค์ ผลปรากฏว่า กองทัพสเปนไม่สามารถสู้ซึ่งๆหน้ากองทัพฝรั่งเศสได้เลย ทหารม้าเบาสเปนไม่สามารถต่อกรกับอัศวินหุ้มเกราะได้ ในขณะเดียวกันทหารราบสเปนก็ไม่สามารถฝ่าดงไพค์ของสวิสได้เช่นกัน ความพ่ายแพ้นี้ เป็นบทเรียนให้ กอร์โบดา ไปอีกนาน
กอนซาโล เฟร์นันเดซ เดอ กอร์โดบา
ทหารม้าเบา จนเนิส ของสเปน
ที่มา – https://i.imgur.com/Xt4gXEj.jpg
อัศวินหุ้มเกราะของฝรั่งเศส
ที่มา – https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/3/3e/1518_Altdorfer_ Sieg_Karls_des_Grossen_ueber_die_Awaren_anagoria_%28cropped%29.JPG/1280px-1518_Altdorfer_Sieg_Karls_des_Grossen_ueber_die_Awaren_anagoria_%28cropped%29.JPG
พลไพค์สวิส
ที่มา – http://historyanswers.wpengine.com/wp-content/uploads/2013/09/Winkelried_at_ Sempach1.jpg
อย่างไรก็ตามหลังจาก ชร์ลที่ 8 เสียชีวิตไปไ่นาน เฟอร์ดินาน ็กลับาครองบัลลังก์เนเปิลส์ อีก หลุยส์ที่ 12 กษตริ์ฝร่งเศองค์ใม่เลยตั้งใจจะรุกรานเนเปิลส์อีกรอบ แต่คราวนี้เขากับสามารถตกลงกับสเปนได้ในสนธิสัญญากรานาดา (Treaty of Granada) ใน ค.ศ.1500 โดยสัญญาว่าจะแบ่งเนเปิลส์กันคนละครึ่ง ทั้ง 2 เลยร่วมกันรุกรานเนเปิลส์ แต่ความที่สนธิสัญญาไม่ได้เคลียร์ชัดเจนถึงผลประโยชน์และพรมแดนทำให้ทั้ง 2 ฝ่ายี ปัญหากันและเกิดเป็นสงครามในช่วง ค.ศ.1503 สำหรัสเปนนั้น ผบ.กองทัพในเนเปิลส์ ยังคงเป็น กอร์โดบา เาตระหักดีว่กองทัพเขานั้นมิอาจสู้ฝรั่งเศสได้ถ้าไม่ได้ปฏิรูปเสียใหม่ เขาเลี่ยงการปะทะกันตรงๆกับ กองทัพใหญ่ของฝรั่งเศส และใช้เวลาปฏิรูปกองทัพใหม่ รอเวลาที่กองหนุนจะมาถึง เขาถูกกองทัพฝรั่งเศสที่ใหญ่กว่าล้อมที่ บาเร็ตต้า (Barletta) บริเวณชายฝั่งทะเลเอเดรียติก
แต่ฝรั่งเศสก็ทำผดพลาดตงที่แ่งกำลงทหารอกเป็นกองย่อยๆหลายกองเพื่อเข้าโจมตี กองทหารเปนท่กระัดกระจย และทำใ้กองทหารฝรั่งเศสพ่ายแพ้ในศึกย่อยๆที่ คาลาเบรีย จนต้องถอยออกมา ในขณะเดียวกันกองหนุนของสเปนเดินทางมาถึงทางทะเลนั้นคือ กองทหารรับจ้างเยอรมัน แลนต์สเนคซ์ (Landsknecht) กว่า 3,000 นาย เมื่อได้กำลังเพิ่มและวงล้อมของฝรั่งเศสเริ่มหลวมลง กอร์โดบา ตัดสินจเดินทัพลงใต้มาที่เนิน ชอริงโน่า (Cerignola) นช่วงเือนเมษาน ค.ศ.1503 เขาได้ตระเตรียมสนามรบโดยการขุดคูและปัไม้แหมกันกรบุกแบบับพลัน และกองทัพใหม่ของเขา ผสมผสานระหว่างอำนาจการยิงและการป้องกันนั้นคือ โคโลเนียลัส (Coronelías) ซึ่งแต่ละขบวน จะมีทหาร 1,000 นาย มีทั้งพลปืน พลดาบ และ พลไพค์โดยพลปืนจะถูกวางไว้ด้านหน้าเพื่อยิงห่ากระสุนใส่ข้าศึก เมื่อข้าศึกเข้ามาใกล้ก็จะถอยไให้พลทวนและดาบเข้าป้องกัน
ขบวนรบ โคโลเนียลัส
ที่มา – https://alchetron.com/cdn/battle-of-cerignola-2ca6a312-2fc8-46ad-8ba8-3111bb9c3d7-resize-750.jpeg
วันที่ 28 เมษายน กองทัพใหญ่ของฝรั่งเศสกว่า 9,000 นายของ ดยุคแห่งเนอร์มัว ก็เดินทางมาถึง กองทัพของเขาประกอด้วย ทหารม้าหนักอัศวินหุ้มเกาะหนัก 650 นาย ทหาร้าเบา 1,100 าย ทหารรับจ้างสวิส 3,000 นาย และทหารราบฝรั่งเศสราว ๆ 2,500 – 3,000 นาย ความจริงฝรั่งเศสมีปืนใหญ่ 40 กระบอกดวยแต่ยังเดินทางมาไม่ถึงสนามรบ ส่วนฝั่งสเปนมี ทหารม้าหนักเบารวม 1,400 นาย พลปืนไฟ ( Arquebusiers) 1,000 นาย ทหารรับจ้างเยอรมัน 2,000 นาย ทหารราบเบา 1,000 นาย และปืนใหญ่ 20 กระบอก โดยฝั่งสเปนนั้น วางรูปขบวน โคโลเนียลัส ไว้ตรงกลางโดยมี คูแลไม้แหลมวางป้องกัน วางทหารม้าไ้ที่ปีก 2 ขาง ปืนให่บนเนิน ส่วนฝั่งฝรั่งเศสนั้นในตอนแรก ดยุคแห่งเนอร์มัว ขอให้มีการลาดตระเวนชัยภูมิให้ดีเสียก่อนที่จะรบเป็นเวลา 1 วัน แต่โดนผู้ใต้บังคับบัญชากดดันให้รบเลย!!!
อัศวินหุ้มเกราะฝรังเศสเจอกับอำนาจการยิงและคูดักทำห้ไม่สามารฝ่ามาได้
ที่มา – https://despertaferres.files.wordpress.com/2018/09/img_5355.jpg
ฝรั่งเศสเลยต้องรบโดยที่ไม่รู้ด้วยซ้ำว่าชัยภูมิเป็นยังไง!! ในตอนแรก ฝรั่งเศสส่งกองทหารม้าส่วนใหญ่เข้าตีปีกขวาของสเปน แต่เมื่อมุ่งตรงไปยังเป้าหมายก็พบว่ามันถูกกีดขวางด้วย ไม้แหลมและคู นอกจากนี้พลปืนของสปนยังระดมยิงใส่ จนการโจมตีระลอกแรกูกผลักดันออไป การโจมตระลอก 2 ของรั่งเศสเร่มที่ปีกซ้ายของสเปนบ้าง เพราะคิดว่าสเปนยังคงทุ่มกำลังส่วนใหญ่ไว้ที่ปีกขวา ทหาร้าฝรั่งเศนำโดยดยุคแห่งเนอร์มัวเข้าชาร์จใส่ปีกซ้ายของสเปน แต่พลปืนของสเปนยังระดมยิงใส่ทหารม้าหนักของฝรั่งเศสจนเสียชีวิตหลายนาย ควันจากปากกระบอกปืนยิ่งทำให้การโจมตีของฝรั่งเศสสับสน ในที่สุดดย ดยุคแห่งเนอร์มัว เองถูกยิงจนเสียชวิต ซึ่งเขาน่าจะเป็นนายพลคนแรกของยุโรปที่เสียชีวิตด้วยอาวุธปืน การโจมตีระลอก 2 ถูกผลักดันออกไปอีก
คราวี้ทหารับจ้างวิสกว่า 3,000 นายเปิดฉาเข้าโจมตีกองกลางสเปนบ้าง แต่เช่นเดิมพวกเขาพบการระดมยิงอย่างหนักจนเสียชีวิตเป็นจำนวนมากและเมื่อบุกไปถึงแนวรบข้าศึกพลปืนก็ถอยออกเปิดช่องให้ทหารรับจ้างเยอรมันเข้าปะทะกับทหารสวิสแทน ในที่สุดทหารสวิสก็แตกพ่ายไปีก!! กอร์โดบา สั่งทหารม้าเบาที่เหลือไล่ตามตีทหารฝรั่งเศสที่แตกกระจาย ซึ่งสามารถยึดเกวียนบรรทุกยุทธปัจจัยและืนใหญ่ขงฝรั่งเสได้เกือบมด ฝรั่งเศสเสียทหารในการยุทธนี้ไปราว ๆ 4,000 นาย ในขณะที่ฝั่งสเปนเสียไปราว ๆ 500 นาย ถึงแม้ชัยชนะนี้จะไม่ใช่ชัยชนะเด็ดขาดที่ทำให้สเปนเป็นเจ้าเหนืออิตาลีและสงครามยังดำเนินไปอีกหลายปี แต่งครามครั้งนี้ทำให้ชัดเจนอาวุธดินปืนจะเริ่มมีบทบาทสำคัญในสนามรบ รวมถึงควมเสื่อมของหารม้าหุ้มเกราะก็ใกล้มาถึง
ความตายของดยุคแห่งเนอร์มัว
ที่มา – https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/2/2d/Elgrancapitantrasbata lladeceri%C3%B1ola.jpg