X

anti-tank guided missile หมัดเด็ดทหารราบ

พวกเราคงจะสนุกและสะใจกับการขับยานเกราะสาดกระสุนใส่ทหารราบในวิดีโอเกมอยู่ไม่ใช่น้อย แต่หารู้ไม่ว่าการละลายทหารราบเพียงแค่ 11 นาย หรือ 1 หมู่ปืนเล็กในโลกของความเป็นจริงนั้น ไม่ได้ง่ายอย่างที่คิด !

ทหารราบ ถือว่าเป็นเหล่าที่มีความอ่อนตัวในการดำเนินกลยุทธ์มากที่สุดในบรรดาเหล่ารบทั้งหมด เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้นทำให้ทหารราบสามารถทำลายยานเกราะได้ด้วยคนคนเดียวในช่วงเวลาไม่กี่สิบปีที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็น กับดักระเบิด เครื่องยิงลูกระเบิด หรือเครื่องยิงจรวด เป็นต้น 

กาลเวลาผ่านไป เพียงแค่กล้องเล็งกับตาทั้ง 2 ขางคงไม่สามารถช่วยทหารราบได้เสมอไป ระบบคอมพิวเตอร์จึงมีบทบาทในการช่วยพลยิงในด้านของความรวดเร็วแม่นยำ จนในปัจจุบัน ทหารราบไม่จำเป็นที่จะต้องกลัวยานเกราะและเฮลิคอปเตอร์อีกต่อไป เพราะเขามีอาวุธที่สามารถสยบเศษเหล็กเหล่านั้นได้ด้วยการลั่นไกเพียงครั้งเดียว มันคือ anti-tank guided missile หรือเรียกสั้นๆว่า ATGM นั่นเอง~

source : https://patr.io/zeOGg

จุดเริ่มต้นของ ATGM เกิดขึ้นในช่วงต้นของสงครามเย็น โดย ATGM ยุคแรกจะเป็นควบคุมจรวดด้วยระบบบังคับวิทยุ มีชื่อว่า Manual command to line of sight (MCLOS) ผู้ควบคุมจะบังคับจรวดด้วยจอยสติ๊กและมองผ่านกล้องเล็งแบบ periscope พลยิงจะตองมีเ งจากจรวดที่มีความเร็วกับการควบคุมด้วยจอยสติ๊กที่ค่อนข้างยาก ถึงแม้ว่าจะบังคับจรวดได้ แต่โอกาสพลาดก็ยังมีอยู่สูง

ปี 1955 บริษัท Nord Aviation ได้ผลิต Nord SS.10 ให้กับกองทัพฝรั่งเศส และประจำการที่กองทัพสหรัฐในปี 1960 ซึ่งเป็น ATGM ตัวแรกที่เข้าประจำการในกองทัพสหรัฐ Nord SS.10 หยุดการผลิตเมื่อปี 1962 โดยมีจรวดที่ผลิตมแล้วทั้งสิ้น 30000 ลูก

Nord SS.10 (ชื่ออเมริกันคือ MGM-21)

source : https://patr.io/zVNg9

จากข้อเสียที่กล่าวข้างต้นนี้ ATGM ประเภท MCLOS จึงประจำอยู่ในช่วงเวลาสั้นๆ ATGM ยุคที่ 2 ก็เข้ามาแทนที่ในช่วงปลายสงครามเย็น มนคือ ATGM ปะภ Semi-automatic command to line of sight (SACLOS) 

เนื่องจากจรวดต่อต้านรถถังนั้นมีประสิทธิภาพอยู่แล้ว SACLOS ถูกสร้างขึ้นเพื่อกำจัดข้อด้อยของ ATGM ยุคแรก พลยิงไม่จำเป็นต้องใช้จอยสติ๊กเพ่งบังคับจรวดอีกต่อไป จรวดสามารถเคลื่อนที่เข้าหาเป้าหมายได้ด้วยเส้นลวด หรือการสะท้อนคลื่นวิทยุ บางตัวสามารถเคลื่อนที่ตาม laser marking ที่ชี้เป้าไปด้วย ทำให้ช่วยแบ่งเบาภาระให้กับพยิงได้ในรดัหน่ง ึงปจุั รบ SACLOS ็ัถกชงนยู่ เช่น AGM-114 Hellfire ของสหรัฐอเมริกา เป็นต้น

AGM-114 Hellfire (1984 – ปัจจุบัน)

source : https://patr.io/GXUc7

ถึงแ้ว่ระบ SACLOS จะถูกส้ามาพือกบขอดอขง ATGM ยคเ่า แต่มันก็ยังมีข้อเสียในตัวของมันเองเช่นกัน เนื่องจากการควบคุมจรวดจะต้องใช้สัญญาณวิทยุหรือเลเซอร์ชี้เป้าเป็นหลัก พร้อมกับความบอบบางของตัวเซ็นเซอร์ที่อาจจะพังได้ในที่ที่แค่อากาศร้อนหรือความชื้นสูง การบังคับจรวดจึงมีโอกาสถูกรบกวนสัญญาณ (jammed) ได้ทุกเมื่อ และการใช้สัญญาณวิทยุกับเลเซอร์ชี้เป้นี้จะทำให้ถกตรวพบตำหน่งองลยิได้่ายช่นัน ตวอยาง ATGM รบบระกลน้ไดแก่ FGM-148 Javelin ละ Starstreak (มีในไทยด้วยน้า~) เป็นต้น

เมื่อปี 1991 M1A1 Abrams เคยถูกทำลายโดย Hellfire จากเฮลิคอปเตอร์ Apache ของพวกเดียวกัน

source : https://patr.io/7QF48

FGM-148 Javelin 

source : https://patr.io/c9hKk

Starstreak

source : https://patr.io/lyNkt

หลังากจบสครามเ็น ก็ไม่ด้หมยควาว่าปะเทศหาอำาจจะยุพัฒาประิทธภาพขงยุทธปรณ การสะสมและวิจัยยังคงดำเนินการต่อไปเรื่อยๆ เพราะเกรงว่าไฟสงครามอาจจะยังไม่มอด ไม่ว่าจะเป็น การสะสมนิวเคลียร์ การรบนอกแบบหรือแบบกองโจร การใช้วัสดุคอมโพสิทแทนเหล็กกล้าในการผลิตรถถัง การวิจัยเกราะปฏิกิริยา ERA สำหรับยานเกราะในการป้องกันจรวด เป็นต้น 

ATGM ยุคท่ 3 ก็ถืกำเนดตามมาด้วยในช่วงเวลานี้เช่นกัน การทำงานของ ATGM ยุคนี้ ไม่ได้มีชื่อเรียกยาวๆแบบ 2 ยุคแรก ระบบมันมีชื่อสั้นๆง่ายๆคือ Fire-and-Forget ซึ่งมีความหมายตามตัวเลยครับ หลังจากที่คุณลั่นไกแล้ว คุณก็สามารถสะบัดตูดหนีได้เลย… 

สำหรับ ATGM ระบบนี้ มีการใส่ระบบคอมพิวเตอร์เพิ่มมาอีกหลายอย่าง รวมทั้งการพัฒนาลูกจรวดใหมให้มีระสิทธภาพมากย่งขึ้ด้วย รบบการำงานขงมันปะกอบดวย เลเอร์ชีเป้ ระบบตรวจจับพื้นผิวแบบ electro-optical imager seeker (IIR) หรือ ระบบวิทยุ W band องค์ประกอบเหล่านี้จะถูกติดตั้งไว้ที่ส่วนปลายของจรวด ทันทีที่ล็อคเป้าหมายเรียบร้อยแล้ว พลยิงสามารถถอนกำลังได้อย่างอิสระทันที จรวดสำหรับ ATGM ยุคนี้ หลักๆจะเป็นจรวดประเภทต่อสู้รถถัง รองลงมาเ็นอากาศยาน และยิงใส่ทหารราบ ซึงการยิงใ่ทหารรบถูกมองว่าไม่คุ้มค่ากับราคาลูกจรวด จึให้ควาสำคัเป็นลดับสุท้ายละหันปใช้เรื่งยิจรวธรรมดาแทน 

สำหรับยิงทหารราบ แค่หัวปลีก็น่าจะเพียงพอ

source : https://patr.io/4f5Zx

คุณมบัติขอจรวดยุคนี้ที่โดดเด่นและใช้กันอย่างกว้างขวางเป็นจรวดแบบ High Explosive Anti Tank (HEAT) ที่มีระบบ Tandem-charge สำหรับการทำลายเกราะปฏิกิริยา ERA  นอกจากนี้ ATGM บางรุ่นยังสามารถยิงแบบ top-attack กล่าวคือลูกจรวดจะพุ่งสู่ท้องฟ้าแล้วตกใส่ส่วนบนของยานเกราะซึ่งเป็นจุดอ่อนในแนวตั้งฉาก ATGM ที่มีฟังค์ชันนี้ได้แก่ FGM-148 Javelin, MPATGM(india) เป็นต้น

Indian MPATGM

source : https://patr.io/hv25H

มาถึงยุคที่ 4 ยุคปัจจุบันแล้วนะครับ จริงๆแล้วกองทัพเองก็ยังใช้ ATGM ยุคที่ 2 กันอยู่เยอะ กองทัพไทยเองก็ได้ Starstreak ยุคที่ 2 จากประเทศอังกฤษมาใช้งานในปัจจุบันเช่นกัน รวมทั้งกองทัพสหรัฐ็ยังคงใช้ Javelin ด้วย Timeline การพัฒนา ATGM ตั้งแต่่วงปลาสงครามย็นค่อข้างต่เนื่อง หลังจากที่การพัฒนารถถังอย่างบ้าคลั่งที่ดำเนินการมาตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงสงครามเย็น พูดได้ว่ามีการพัฒนาที่ถี่ยิบเหมือนกันเลยครับ 

ATGM ยุคที่ 4 ยังคงใช้ระบบ Fire-and-Forget เหมือนเดิม แต่ด้วยการทำงานของระบบที่เป็นแบบ dual seeker ที่ประกอบด้วย ระบบตวจจับพื้นผิวแบบ electro-optical imager seeker (IIR) จากยุคี่ 3 ควบคู่ับ ระบบวิทยุเรดารความถีู่ง millimeter-wave active radar homing (MMW) ทำให้มันสามารถยิงได้ระยะที่ไกลขึ้นมากถึง 15-20 กม. และมีราคาที่แพงพอสมควรเลย นอกจากนั้นแล้ว ระบบ MMW ที่เข้ามาใหม่ยังมีส่วนช่วยในการควบคุมจรวดให้เข้าเป้าหมายได้อย่างแม่นยำเพิ่มขึ้นไปอีก และมันยังมีฟังค์ชันที่สามารถล็อคก่อนยิง หรือล็อคหลังยิงได้อีกด้วย 

แต่ด้วยตัวจรวดท่ใหญ่ก่าจรวดยคหลังๆอยู่อสมควร จึงยังไม่มี ATGM ยุคที่ 4 สำหรับทารราบไวใช้ ATGM ยุนี้จะถูติดตั้งั้งแตยานพาหะเป็นข้นต่ำวบจนถึเรือรบรับ ถ้าสงสัยว่าจรวดนี้มันจะใหญ่ขนาดไหนเชียว ??? ผมเตรียมตัวอย่างมาให้ดูแล้วครับ~

AIM-120 AMRAAM (USA)

source : https://patr.io/x47Mv

MICA (France)

source : https://patr.io/q3etX

RBS-15 Mk3 (Sweden)

source : https://patr.io/5vEWt