ก่อนหน้านี้ในยุคกรีกโบราณหรือช่วงราวๆ 800 – 500 ปี ก่อน ค.ศ. กองทัพในบรรดานครรัฐกรีกนั้นยังไม่มีกองทหารม้าใหญ่โตมากเนื่องจาก ภูมิประเทศไม่ได้เอื้อต่อการมีกองทหารม้าขนาดใหญ่ กองทหารกรีกในยุคนั้นจะเน้นูปขบวน ฟาลังซ์ (Phalanx) เป็นขบวนรบ ของนักรบหุ้มเกราะถือหอกยาวทิ่มแทงกัน แต่พอมาถึงช่วงราวๆ 400 ปีก่อน ค.ศ. พระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่ง มาซิโดเนีย (Philip II of Macedon) เป็นกษัตริย์รัฐทางกรีกตอนเหนือได้ปฏิรูปกองทัพใหม่ โดยการปรับความยาวให้ ไพค์ (Pike) ของทหารตนเองยาวกว่าพวกรัฐกรีกอื่นเป็นเท่าตัว นอกจากนี้ยังมีการใช้ทหารราบเบาจำพวก พลธนู พลสลิง เป็นพวกรบนอกแถวคอยก่อกวนทหารในขบวนรบ และ ีสำคัญคือการตั้ง กองทหารม้าขนาดใหญ่ โดยเฉพาะกองทหารม้าคอมพาเนียน (Companion Cavalry) ที่ขึ้นชื่อว่าเป็นกองกำลังในการเป็นหัวหอกการรุกสำคัญของ มาซิโดเนีย
อเล็กซานเดอร์มหาราชพร้อมกับกองทหารม้าคอมพาเนียน
source : https://patr.io/EUV1m
ด้วยกองทหารที่ครบครันเช่นนี้ ทำให้พวกมาซิโดเนีย กลายเป็นเจ้าแห่งสนามรบและสามารถพิชิตกองทัพรัฐกรีกอื่นได้อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม พระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งมาซิโดเนีย ก็เสียชีวิตกระทะหัน ทำให้บุตรชายคนโต อเล็กซานเดอร์ ในวัย 20 ปี ขึ้นมาครองราชย์แทน ซึ่งในเวลาต่อมาเราจะรู้จักเขาในชื่อ อเล็กซานเดอร์มหาราช (Alexander The Great) อเล็กซนเอ์ นำกองทัพที่พระบิดาสร้างมาเข้าพิชิตจักรวรรดิเปอร์เซียและบุกไปไกลถึงอินเดีย เขาได้สร้างจักรวรรดิอันยิ่งใหญ่ในเวลาอันสั้น และที่สำคัญคือเขาได้คิดค้น กลยุทธ์ที่จะกล่าวถึงในบทความต่อไปนั้นคือ ค้อนและทั่ง (Hammer and Anvil) ซึ่งกลายเป็น ยุทธวิธีที่คลาสสิคและปรับใช้ได้หลายยุคและหลายสถานการณ์
ขบวนรบฟาลังซ์ ขบวนรบที่ทำให้กองทัพมาซิโดเนียเอาชนะข้าศึกมาหลายต่อหลายครั้ง
source : https://patr.io/wHgiq
ทั้งนี้ไม่มีหลักฐานที่ชัดเจนว่า อเล็กซานเดอร์มหาราช เป็นผู้ให้กำเนิดมัน แต่ อเล็กซานเดอร์นั้นใช้มันบ่อยมากทำให้มันโด่งดังในยุคของพระองค์ และได้รับชัยนะเหือองัเอ์ซยลาครั้งด้วยกลยุทธนี้ รายละเอียดของกลยุทธนี้คือ การใช้กองกำลังของเราในยุค อเล็กซานเดอร์นั้นจะเป็นทหารราบถือไพค์ยาว ตรึงแนวข้าศึกไว้ไม่ให้ กองทัพข้าศึกขยับไปไหนได้เหมือนทั่งตรึงเหล็ก เนื่องจากแนวไพค์ของทหารมาซิโดเนียยาวอยู่แล้วจึงเป็นการยากที่ข้าศึกจะเจาะแนวได้ หลังจากนั้นใช้กองกำลังเคลื่อนที่เร็วซึ่งในยุคอเล็กซานเดอร์ก็คอ ทหาร้า เข้าโจมตีปีกหรือแนวหลังของข้าศึกที่ถูกตรึงอยู่ เหมือนค้อนตอกทุบเหล็กที่ถูกตรึงบนทั่ง กลยุทธนี้จึงถูกเรียกว่า ค้อนและทั่ง
ภาพอธิบายง่ายๆของกลยุทธค้อนและทั่ง โดยใช้หน่วยทหารหนึ่งตรึงกำลังขาศึกไว และอกหนวยหาทีเคื่นท่เรวต้องโจมตีตลบหลังหรือปีกของข้าศึกเหมือนค้อนที่ตอกบนทั่ง
source : https://patr.io/O59ns
ทั้งนี้ กลยุทธนี้จะสำเร็จได้ต้องอาศัยหลายอย่างเช่น หน่วยที่จะเป็นทั่ง นั้นต้องอยู่ในชัยภูมิหรือรูปขบวนรบที่สามารถยันข้าศึกได้นานโดยข้าศึกไม่สามารถเจาะแนวรบเ้ามาได้ สวนหน่ยที่ป็น้อนั้น็ต้งโจตีใ้ถูกี่และถูกเวลา ต้องมาให้ทันก่อนที่ หน่วยที่เป็นทั่งจะแตกเสียก่อน การโจมตีใส่ปีกหรือแนวหลังข้าศึกย่อมทำให้เกิดความระส่ำระสายในกองทัพและนำมาสู่ความพ่ายแพ้ในที่สุด ตัวอย่างที่ อเล็กซานเดอร์ใช้กลยุทธนี้เช่นการยุทธที่ อิสซัส (Battle of Issus) ก่อน ค.ศ.333 ซึ่งกองทหารม้าเปอร์เซียได้โจมตี ปีกซ้ายของอเล็กซานเดอร์จนถอยร่นใขณะที่ ตรงลางแนวบกำลัตรึงันอย่ อเล็กซานเดอร์ได้นำ ทารม้าที่อยู่ปีกขวาของตนเข้าทะลวงแนวของเปอร์เซีย จนไปถึงตัว กษัตริย์เปอร์เซีย ดาริอุสที่ 3 ทำให้พระองค์หนีทัพ การหนีของดาริอุสที่ 3 ทำให้กองทัพเปอร์เซีย ขวัญเสีย และพากันแตกทัพ
ในอีกไม่กี่ร้อยปีต่อมา ในช่วง 216 ปีก่อน ค.ศ. กองทัพคาร์เธจของ ฮันนิบาล บาร์คา (Hannibal Barca) ซึ่งมีราวๆ 50,000 นาย ปะทะกบกองทัพใหญ่ของโรมันราวๆ 85,000 นาย ฮันนิบาลนั้นมีทหารม้าที่เหนือกว่าโรมัน เลยใช้ทหารม้าตัวเองตีทหารม้าโรมันจนร่นถอย โรมันตอบโต้ด้วยการส่งทหารราบที่เหนือกว่าเข้าตีทหารราบคาร์เธจ คาร์เธจ ที่มีจำนวนน้อยกว่า เริ่มล่าถอย แนวตรงกลางของคาร์เธจกำลังจะแตก ทหารม้าฮันนิบาลกลับมาชาร์จเข้าใส่แนวหลังกองทัพโรมันทำให้พวกโรมันสับสนและพ่ายแพ้ที่สุด ชัยชนะครั้งนี้นับเป็นการใช้ค้อและทั่งี่สมบูณ์แบบช่นกั
การยุทธที่คาไนส์ นั้น ฮันนิบาลได้ใช้กลยุทธที่คล้ายๆกับอเล็กซานเดอร์ นั้นคือการตรึงกองทหารโรมันเอาไว้ตรงกลางแนวรบก่อนจะใช้กองทหารม้าเข้าตลบหลังข้าศึกจนได้รับชัยชนะในที่สุด
source : https://patr.io/S7nZy
้ามมยังยุใหม่บ้างในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งอาวุธพัฒนาไปไกลมากมีทั้ง เครื่องบินรบ รถถัง ปืนใหญ่ แต่ คอนเซ็ปต์ และค้อนและทั่งก็ถูกนำมาใช้ เช่นในการยกพลขึ้นบกที่ นอร์มังดี จอมพล เบอร์นาร์ด มอนต์โกเมอรี (Bernard Montgomery) ผบ.กองทัพบริติช นั้นคาดการณ์ไว้ว่า กองทัพเยอรมนต้องใช้ กองทพยานเกราขนาดใหญเข้าตีอบโต้ กรยกพลข้นบก ดังนั้นเขาจึงจะใช้ กองทัพบริติช “เป็นทั่ง” ตรึงกองทัพยานเกราะเยอรมันไว้ ส่วน กองทัพอเมริกันจะเป็นค้อนตีโอบ กองทัพเยอรมัน ซึ่งก็ได้ผล กองทัพบริติช ของ มอนต์โกเมอรี เข้าโจมตี เมือง ก็อง (Caen) เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญทำให้ฝ่ายเยอรมันต้องยึดมันกลับคืนมา อย่างไรก็ตาม บริติช ก็สามารถตรึงกองทัพเยอรมันได้นานอ จนกองทัพอเมริกัน ไล่ตีองทัพเยอมันแล้วาล้อมกรบกองทัพยอรมัได้!!
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพบริติชส่วนใหญ่ได้ตรึงกองที่เข้มแข็งของฝ่ายเยอรมันที่เมืองก็อง ในขณะที่ กองทัพอเมริกัน ทำการตีปีกทะลวงแนวป้องกันของเยอรมันที่อ่อนแอ
source : https://patr.io/MCQ4j
จะเห็นได้ว่า ค้อนและทั่ง นั้นเป็นกลยุทธที่ไม่ล้าสมัย มันสามารถปรับเปลี่ยนการใช้งานได้ตามยุคสมัยแม้การรบจะสเกลใหญ่ขึ้น และอาวุธที่พัฒนามากขึ้น แต่มันก็ยังคงใช้ได้เสมอ