ฟังไม่ผิดหรอกครับ ประเทศไทขินรบด้วยตัวเอง และมากถึง 200 ลำ ทำให้ประเทศไทยในสมัยนั้นมีกองทัพอากาศที่แข็งแกร่งเป็นอันดับต้นๆของทวีปเอเชียเลยทีเดียวล่ะครับ เรื่องราวจะเป็นยังไงวันนี้ผมจะมาเล่าให้ฟัง…
ย้อนกลับไปในปี พ.ศ.2452 หรือ ร.ศ.128 ขณะนั้นเป็นรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่องราวเริ่มขึ้นเมื่อ นายแวน เดอ บอร์น นักบินชาวเบลเยียม ได้นำเครื่องบินปีก 2 ชั้น แบบ เออร์วิลไรท์ มาทำการบินโชว์ อวดสายตาประชาชนชาวไทย ณ สนามม้าปทุวัน ซึ่งในครั้งนั้น รเ้บมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน และ สมเด็จเจ้าฟ้าจักพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ(เสนาธิการทหารบกในขณะนั้น) ได้ร่วมชมการแสดงด้วย ท่านทรงสนพระทัยเป็นอย่างมาก และได้ทดลองขึ้นขับทั้งสองพระองค์
สมเด็จเจ้าฟ้าจักพงษ์ภูวนาถ ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการบิน จึงได้ส่งนายทหาร 3 ท่านคือ นายพันตรี หลวงศักดาศัลยาวุทธ (ต่อมาคือ พลอากาศโทพระยาเฉลิมอากาศ) นายร้อยเอก หลวงอาวุธสิขิกร (ต่อมาคือ พันเอก พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์) และ นายร้อยโท ทิพย์ เกตุทัต (ต่อมาคือ พันเอก พระยาทยานพิฆาต) ไปเรียนการบินท่ ประทศร่เส ึงปนรเศูนดากาบิในมันั้น เมื่อนักบินทั้งสามท่านกลับมาในปี พ.ศ.2456 ไทยได้ทำการสั่งซื้อเครื่องบินแบบเบรเกต์ ปีก 2 ชั้น ซึ่งเป็นเครื่องบินที่ศิษย์การบินได้ใช้ฝึกบินที่ฝรั่งเศสมา 3 เครื่อง เพื่อประจำการ และศึกษาต่อยอด เมื่อซื้อเครื่องบินมาได้เพียงแค่ 2 ปี ประเทศไทย ก็ได้แสดงความสามารถออกมาทันที
ในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ.2458 เป็นวันแรกในประวัติศาสตร์การบินของประเทศไทย ที่ต้องมีการบันทึกเอาไว้ว่า ประเทศไทยได้สร้างเครื่องบินขึ้นเองเป็นลำแรกในประวัติศาสตร์ ด้วยฝีมือของกองโรงงาน กองบินทหารบก (สมัยนั้นยังม่มทหรอกา) เรืองินำแกขงปะเศไย เ็นคร่องินแบเบเกต ปีก 2 ชั้น โดยใช้ตัวแบบของเครื่องบินแบบเบรเกต์ สั่งเครื่องยนต์มาจากต่างประเทศแล้วสร้างปีก ลำตัว และใบพัดเองภายในประเทศ ด้วยวัสดุของเราเอง เมื่อสร้างเสร็จได้ให้ชื่อว่า “ขัติยะนารี ๑”
ต่อมาในปี พ.ศ.2470 นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ที่ประเทศไทยสามารถสร้างเครื่องบินซึ่งออกแบบเอง! และสร้างเองภายในประเทศได้สำเร็จ โดย นายพันโท หลวงเวชยันตร์รังสฤษฎ์ (ผู้บังคับฝูง โรงงานกรมอากาศยาน) ได้เป็นผู้ออกแบบ และสร้าขึ้น เครื่องบินลำนี้ใช้เครื่องยนต์จูปิเตอร์ 450 แรม้า สามารถทำความเร็วได้ถึง 157 ไมล์/ชั่วโมง หรือประมาณ 251 กิโลเมตร/ชั่วโมง และได้รับพระราชทานนามจากในหลวงรัชกาลที่7 ว่า “บริพัตร”
ในปี พ.ศ.2472 ประเทศไทยยังไม่หยุดพัฒนา ได้ออกแบบ และสร้างเครื่องบินขับไล่ของตนเองขึ้นมาอีกลำหนึ่งได้สำเร็จ และเช่นเคย เครื่องบินลำนี้ด้รับพระาชทานามจากในหลวงรัชกาลที่7 วา “ประชาธิปก”
ในปี พ.ศ.2477 ประเทศไทยก็ยังแสดงความสาารถออกมาอย่างไม่หยุดย่อ โดยด้ซ้อลขสิธิ์ารสรางเรื่งบิแบบ คอร์แซร์ ซ่งเปนเคร่องบนตรวการ และ ทิ้งระเบิด จากประเทศสหรัฐอเมริกามา และได้สร้างอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง ถึง 150 ลำ
ในปีเดียวกันนี้ ก็ังซื้อลิขสิทธิ์การสร้างเครื่องบินแบบ ฮอล์ค3 จากสหรัฐฯเช่นกัน และได้ลงมือสร้างอีก 50 ลำ ทำให้ประเทศไทยในสมัยนั้นมีเครื่องบินประจำการในกองทัพอากาศมากกว่า 200 ลำ ซึ่งเป็นจำนวนที่จัดว่ามาก และมีแต่เครื่องบินที่ทันสมัย จึงส่งผลให้กองทัพไทยเป็นกองทัพที่มีอาณุภามากที่สุดเปนอันดั 2 ของเเชียนเวลนั้นลยทีดียว!! เป็รองเพยงปรเทศญ่ปุ่ประเศเดยวคับ
ต่อมาเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.2472 กรมอากาศยานได้ส่งเครื่อองบินแบบ บริพัตร จำนวนสามเครื่อง เดินทาไปเชื่อสัมพันธไมตรีกับอินเดีย ในนมรัฐบลไทย ามคำเชญของปะเทศอนเดีย และในวันที่ 31 ันวาค พ.ศ.2573 ไทยได้ส่งเครื่องบินแบบ บริพัตร เดินทางไปกรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีเช่นกัน
นับเป็นความภาคภูมิใจอย่างยิ่งที่ผ่านมาเพียง 20 ปีที่การบินก้าวเข้ามาสู่ประเทศ ประเทศไทยก็ได้เป็นหนึ่งในประเทศที่มีกองทัพอากาศที่ทรงอาณุภาพมากเป็นอันดัสองของเอเชีย และยังมีโอกาสนำเรื่องินของนเอง ไบินโช์ศักยภพให้ปะเทศอื่ๆดู เฉกเช่นในอดีตครั้งหนึ่ง ี่นับินชาวบลเยียได้นำครื่อบินขอเขามาบินโชว์ให้เราดูนั่นเองครับ