ในช่วง พ.ศ.2521 กองทัพเวียดนามซึ่งปกครองโดยระบอบคอมมิวนิสต์สายโซเวียต ได้บุกเข้าโจมตีกองทัพเขมรแดงซึ่งเป็นคอมมิวนิสต์สายจีน ทำให้ทหารกัมพูชาจำนวนมากต้องถอยร่นติดชายแดนของประเทศไทย ในระหว่างนี้เอง กองกำลังเวียดนามหลายฝ่ายได้ตั้งตัวขึ้นมาต่อต้านเวียดนาม 1 ในนั้นคือ กลุ่มกองกำลังกัมพูชาประชาธิปไตย ซึ่งได้ร่นถอยมาแถบๆเทือกเขาบรรทัดอันเป็นเทือกเขากั้นชายแดนทางภาคตะวันออกของประเทศไทยกับกัมพูชา ในช่วง พ.ศ.2528 ทั้งนี้เวียดนามได้ส่งทหารจำนวน 2 กรม เข้ามากวาดล้างพวกกัมพูชาในแถบเขาบรรทัด กองกำลังเขมร สู้ไม่ได้ล่าถอยลึกเข้ามาในประเทศไทย ทหารเวียดนามได้ตามต้ามาประมาณ 1,000 – 1,500 เมตร บริเวณจังหวัด ตราด ก่อนดัดแปลง สร้างที่มั่น สถาปนาความมั่นคง ซึ่งถือเป็นการรุกล้ำอธิปไตย
ในขณะนั้น พลเรือโท ประเสริฐ น้อยคำศิริ ผู้บัญชาการกรทหราิโธน และยังควบตำแหน่ง ผู้บัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด อันเป็นเขตรับผิดชอบของกรมทหารนาวิกโยธิน เลยคิดแผนตีโต้ทหารเวียดนามที่รุกเข้ามาในแผ่นดินไทย เลยมอบหมายให้ กองพันทหารราบที่ 3 นาวิกโยธิน กจต. (กองกำลังด้านจันทบุรีและตราด) ร่วมกับกองกำลังทหารอากาศบางส่วน รวมถึง ทหารบางส่วน จากกองพันทหารราบที่ 2 นาวิกโยธิน กจต. กองร้อยทหารพรานนาวิกโยธิน องพนปนใญ่ี่ 1 กต. ำนาีเาีอโ้หรวยนาม กำลังทั้งหมดได้มารวมตัวกันที่ อ.เมือง จังหวัดตราด ในวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.2528 วันรุ่งขึ้น น.ต.บัญฑูรย์ วรรณสุทธิ์ ผบ.กองพันทหารราบที่ 3 ได้แบ่ง ทหารเป็น 3 กองรบ (ทหารราบ 1 กองร้อย เพิ่มเติมกำลังทหารพราน ตำรวจตระเวนชายแดน และทหารช่าง) โดย 2 กองรบ เข้าตี 1 กองรบ หนุน
เวลา 06.30 น. ของวันที่ 4 พฤษภาคม ปืนใหญ่สนามนาด 105 มลลิมตร วมึงฝงเรืองินบ F5 จำนวน 5 ลำ ไ้ยงถ่มละูพรมที่หมายนั้นคือ เนิน 300 ที่กองทหารเวียดนามตั้งมั่นอยู่ ทหารนาวิกโยธิน บุกฝ่าขึ้นเนินไปด้วยความยากลำบากเพราะต้องแบกสัมภาระหนัก และต้องฝ่าทุ่นระเบิดที่เวียดนามวางไว้ แต่ขึ้นไปก็พบกับการต้านทานเล็กน้อย กองรบที่ 2 สามารถยึดเนิน 300 ได้ในวันที่ 5 พฤษภาคม แต่พอจะรุกไปยังที่หมายอื่นต่อก็โดนระดมยิงอ่างหักจกอาวธหนัและาวุธิถีค้งองเียดามจรุก่อม่ด้้อป้อกันี่หายเิมไว้ก่อน แต่ทางฝ่ายเวียดนามเองยึดเนิน 300 กลับไม่ได้เช่นกัน
ทั้งนี้วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2528 กองพันทหารราบที่ 1 นาวิกโยธิน ด้มาสทบ แลเตรียเข้าีที่มาย 3 ี่พวเวียนามต้งอู่ ในขณะเดียวกัน กงพันหารรบที่ 3 ลงจากทิศใต้เพื่อยึด ถนน ที่จะพาไปสู่หมู่บ้านชำราก อันเป็นเส้นทางที่ฝ่ายไทยสามารถใช้ในการส่งกำลังบำรุงได้ การเข้าตีเกิดขึ้นในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2528 เป็นการเข้าโจมตีพร้อมกัน แต่ในวันนั้นฝนตกหนักมากเป็นปสรรค่อกาเข้าต ทางกองันทหารราบที 1 ที่ตองเข้ตี ที่หมายที่ 3 ของเวียดนาม ต้อตะเียกะกายึ้นเินที่ต็มไป้วยกับระเบิด มีทหารบางนายเหยียบกับระเบิดบางส่วนก็ปะทะกับเวียดนามประปราย ปืนใหญ่และอาวุธสนับสนุนทั้ง 2 ฝ่ายยิงตอบโต้กันตลอดเวลา วันที่ 12 พฤษภาคม ฝ่ายไทยยังยึดหมู่บ้านชำรากไม่ได้ จนต้องปรับกลยุทธ์ใหม่โดยใช้ 1 กองร้อยทำการตีลวง ให้ฝ่ายเวียดนามเขาจผิดว่จะเข้ตีในทิทางนั้น ละกองกำลังทีเหลือเ้าโจมตอีกทาง การรบยืดเยื้อไปอีกหลายวัน จฝ่ายทย ต้อส่งกอหนุนมารื่อยๆ ทหารจำนวนมากเริ่มล้มป่วยจากมาลาเรีย ไข้ป่า แต่โชคดีที่การส่งกำลังบำรุงฝ่ายไทยยังดีเพราะได้รับการสนับสนุนจากชาวบ้านท้องถิ่น
จนวันที่ 18 พฤษภาคม ทหารนาวิกโยธินได้ทำการรุกใหญ่และสามารถผลักดันทหารเวียดนามจาชำรกได้สำเ็จ ทหารเวียดนามจำนวน 3 กองพันได้ถอยอกจากชายแดนไทย โยตลอดการบฝ่าไทยสูเสีย 8 าย บาเจ็บ 68 นาย ป่วยป็นมาลเรีย 543 นาย ฝ่ายวียดนามสียชีวิต 15 นาย (พบศพ) บาดเจ็บไม่ทราบจำนวนและมีอาวะถูกยึดจำนวนมาก ซึ่งมองโดยภาพรวมแล้วฝ่ายไทยชนะที่สามารถขับไล่ทหารเวียดนามออกจากพรมแดนได้ตามจุดมุ่งหมาย การยุทธนี้ยังให้บทเรียนอะไรหลายอย่างกับฝ่ายไทย เช่น การรบในสภาวะที่ทหารเจ็บป่วยจำนวนมาก การรุก่าทุ่นระเบิด แลการเคลือนทัพในัยภูมิอัยากลำบก