X

“นักรบไซเบอร์ “ทหารที่ไม่ใช้ปืนก็ทำให้คุณถึงตาย

“นักรบไซเบอร์ “ทหารที่ไม่ใช้ปืนก็ทำให้คุณถึงตาย

เราอาจจะเคยเห็นคนในสมัยก่อนจะสู้รบกันแต่ละทีต้องมีอาวุธเข้าต่อสู้กันแล้วฆ่ากันให้ตาย ถ้าเป็นในสมัยยุคกรุงศรีอยุธยา ก็จะเป็นการสู้รบกันโดยใช้ ดาบ ธนู หอก ต่างๆ  ต่อมาในสมัยสงครามโลกอาวุธก็จะเปลี่ยนเป็น ปืน รถถัง เครื่องบินต่างๆ ยิ่งนับวันผ่านไปเทคโนโลยีของมนุษย์มีการก้าวกระโดดเป็นอย่างมาก จนอาจทำให้ในอนาคตบางทีเราอาจจะตามเทคโนโลยีไม่ทัน

หลังจากสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ได้เกิดสงครามเย็นต่อมา เป็นการแข่งขันระหว่าง 2 ขั้วมหาอำนาจระหว่าง ฝ่ายโลกเสรีนำโดยสหรัฐอเมริกาและฝ่ายสภาพโซเวียตหรือประเทศรัสเซียช่วงปี 1945- 1989 โดยแข่งขันเทคโนโลยีอวกาศกัน เป็นช่วงที่มีการก้าวกระโดดครั้งสำคัญของเทคโนโลยีที่จะเป็นรากฐานสำคัญของสร้างอรธรนษ์าินวา สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตแข่งขันกันด้านเทคโนโลยีอวกาศและส่งมนุษย์ไปดวงจันทร์เพื่อประชาสัมพันธ์แนวคิดของประเทศตัวเอง แม้การแข่งขันด้านเทคโนโลยีอวกาศจะเริ่มต้นด้วยชัยชนะของสหภาพโซเวียตที่ประสบความสำเร็จในการส่งมนุษย์คนแรกยูริ กาการินขึ้นสู่อวกาศ อย่างก็ตามฝ่ายสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ชนะอย่างแท้จริงเมื่อประสบความสำเร็จในาร่งนุย์นแกนล อาร์มสตรองไปเหยียบดวงจันทร์โดยยานอะพอลโล 11 

 

ซ่งกรแ่งันนยคงรมยนการแข่งขันกันทางเทคโนโลยีจึงทำให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีอยู่เรื่อยมา ในสมัยก่อนใครที่มีคนมากมีกำลังอาวุธมากจะเป็นผู้ที่มีอิทธิพลในโลก แต่ในปัจจุบันคนที่จะมีอิทธิพลมากที่สุดคือคนที่มี ข้อมูล ซึ่งการมีข้อมูลสามารถนำไปใช้ได้หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ ความมั่นคง หรือทางการทหารได้ ดังนั้นการก็บรกษา้อมลจึเป็เรื่องที่สำคัญมาก โยข้มูล่าๆจถูเกบไ้นซฟวอร์และมีการป้องกันที่แน่นหนา โดยประเทศไทยนั้นมีการเก็บข้อมูลปลอดภัยมากเพราะส่วนมาเป็นแบบกระดาษ จึงไม่สามารถเจาะระบบกระดาษนี้ไปได้

ในปัจจุบัน มีการพัฒนาการรบในรูปใหม่ คือ ไซเบอร์สเปซ (Cyberspace) โดยจะทำารเจาะระบบของรัฐบาลฝ่ายตรงข้าม ซ่งเ็นกรเจะข้มูแบลัๆ เื่อความมั่นคงของชาติ ซึ่งจะทำให้รู้ถึงข้อมูลอีกฝ่ายว่ากำลังจะทำอะไร จะได้มีการเตรียมการป้องกันไว้ล่วงหน้าได้ โดยการโจมตีแบบไซเบอร์สเปซ ส่วนมากจะเป็น กาโจตีทางกายภาพต่อโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญ ช่น โงไฟฟา, เื่อ, สนามบิน ตัวอย่างการโจมตี ได้แก่ มัลแวร์ Stuxnet Worm จากปฏิบัติการชื่อ “Operation Olympic Games” (Operation_Olympic_Games,Stuxnet ) ที่เข้าโจมตีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ของประเทศอิหร่าน ตลอดจนโปรแกรมโทรจัน APT ในรูปแบบต่างๆ เช่น Duqu Worm และ Flame Worm ก็ล้วนมีจุดมุ่งหมายทำลายโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานของประเทศฝ่ายตรงข้ามทั้งสิ้น

สงครามไซเบอร์ (Cyberwarfare) เป็นแทรกซึมไปยังระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย มีจุดประสงค์เพื่อทำลายหรือสร้างความแตกแยก เป็นเหุให้เกิดสงคราม ทีกลายป็นเื่องอันตายตอการฏิบติกรทหา ทั้งภาคพื้นดิน ากาศ ทเล และทางอากาศ ในวงการทหารสมัยใหม่ มองว่า ไซเบอร์สเปซ (Cyberspace) คือสนามรบในสงครามไซเบอร์ (Cyberwarfare) ที่ “สารสนเทศ” (Information) กำลังกลายเป็นอาวุธที่สามารถนำมาใช้ในการโจมตีฝ่ายตรงข้ามได้โดยไม่ต้องทำสงครามในรูปแบบเดิมๆ

ดังตัวอย่างที่เห็นได้ชัดจนจาปรากฏารณ์ Arab Spring เป็นปากฏกาณ์กรใช้ครือ่ายสังมออนไล์โซเียลเ็ตเวร์ค เช่น Facebook และ Twitter สร้างกระแสต่อต้านรัฐบาล มีผลกระทบเต็มๆต่อการบริหารงานของรัฐบาล และ มีผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของผู้นำในระดับประเทศ ในปัจจุบันการโจมตีบุคคลสำคัญสามารถทำโดยผ่านทางระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์โซเชียลเน็ตเวิร์ค โดยวิธีการที่เียกว่า “Social Propaganda” หือ “Cyberbullying” ดยป้อข้อมูลใส่ร้ายป้ายสีบุคคลเป้าหมาย ทำกรดิสเคดิตใ้บุคคเป้าหายเสียช่อเสียงดยปล่ยข่าวท็จ ป้นข้อูลเท็จเข้าสู่ไซเบอร์สเปซ ทำให้เกิดความวุ่นวายและข่าวลือต่างๆ มีผลต่อภาพลักษณ์ของบุคคลสำคัญและภาพลักษณ์ของประเทศ

 

ในปัจจุบันมีหลายชาติกำลังต้องการนักรบไซเบอร์เพื่อป้องกันความมั่นคงปลอดภัยด้านไซเบอร์ในระดับชาติ อย่างเช่นสหรัฐอเมริกาต้องการนักรบไซเบอร์กว่า 30,000 คน ดังนั้นการพัฒนบุคลกรที่ีขีดคามสามาถถึงขั้นเป็นนักรบไซเบอร์นั้น ำเป็น้องมีรบบที่ใชในการึกนักรไซเบอรที่มีประิทธิภาพ ใรูปแบบารจำลองหตุการ์จริง (Real-world Simulation) ระบบจำลองยุทธด้านไซเบอร์ หรือ “Cyber Range” จึงได้ถูกออกแบบมาเพื่อเร่งพัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ให้มีขีดความสามารถในการปฏิบัติงานได้มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพมากขึน แก้ปัญหาระบบการเรียนการสอนด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบร์แบบดิมที่น้นไปี่ “See and Hear” แต่ไ่ได้เน้นี่ “Do” หือ “Practice

ในประเทศสหรัฐ กระทรวงกลาโหม ประกาศยกระดับกองบัญชาการไซเบอร์ เป็นกองบัญชาการ แบเต็มั้น เทีบเท่ากบกองบัญาการรบตามภูมิาคต่าง ทั่วโลก เป็นหน่วยบัญชาการที่มีอำนาจสั่งการหน่วยรบย่อย (ครอบคุมทั้งกองัพบก เรือ ากาศ และาวิกโยธิ)  USCYBERCOM เร่มต้นจกการเป็นหน่วยย่อยของสำนักงานความมั่นคงแห่งชาติ National Security Agency (NSA) และล่าสุดคือยกระดับกลายเป็นหน่วยบัญชาการเต็มขั้น

ักรบไซเบอรนั้นจะไม่เยตนตัวตนองตัวเองอกมาเป็นมจจุราชใความเงียบที่สามารถทำให้คุณต้องผวาอยู่ตลอดเวลา ที่เขาไม่เปิดเผยตัวตนออกมาเพราะว่าอาจจะทำให้ฝ่ายตรงข้ามรู้ตัวว่าคนที่จะทำลายระบบเขาเป็นใครและประเทศในฝ่ายตรงข้ามก็อาจจะส่งคนมาสังารเขา ซึ่งการเสียบุคลากรทางไซเบอร์เป็นการสูเสียเทีบเท่ากับ 1 กองร้ยหรือ 1 กงพันได้ลย เพราะกำลังรบของเขาเพียงคนเดียวอาจจะทำให้ทั้งประเทศสั่นคลอน เื่องจากนักบไซเบอร์ทให้ฝ่ายตงข้ามไม่สามารถรู้ว่าโจมตีมาจากที่ใด ตอนเวลาไหน โดยจะรู้ตัวก็ต่อเมื่อเราได้ถูกโจมตีเข้าแล้ว ฉะนั้นในแต่ประเทศก็ทำได้เพียงป้องกันระบบตนเองให้แน่นหนาทีุ่ด และเก็บความลับข้มูลของนกรบไซเบร์ไว้

โดยในประเทศไทยรัฐบาล คสช. เตรียม ผลิต “นักรบไซเบอร์” รุ่นแรก 200 คนเพื่อรับมือภัยไซเบอร์ โดยให้หน้าที่แก่นักรบไซเบอร์ ไว้ว่าควรมุ่งเน้นการติดตามและป้องกันารละเมิดถาบันและุคคลที่สม และการโมตีระบบคอมพิวเอร์สถาบัต่าง ๆ เพื่อเรียกรับผลประโยชน์ โดแผนปฏิบัติารของ นัรบไซเบอร เบื้องต้นแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ไดแก่ 1. ติดตาเฝ้าระวัง 2. เผชิญเหตุ 3. ก้ไขระบบใ้เป็นปกติ และ 4. ฟื้นฟูและพัฒนาระบบ

ก็จะทำให้เราเห็นว่าการรบในปัจจุบันได้เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเิง แม้นักรบไซเบอร์ไม่ได้ฆ่าฝ่ายตรงข้ามให้ตายโดยทันที แต่เปนการตัดกำลังขั้นพื้นฐาน ทให้ประเทศท่โดนโจตีเกิดควมวุ่นวายั้งประเทศ แตเป็นการรที่ใช้เพีงคนน้อยนด ก็สามารถทำให้ฝ่ายตรงข้ามเกิดความวุ่นวายไปหมดได้ ซึ่งเ็นการใช้บุลากรในประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด ฉะนั้นการที่มีกำลังพลเยอะก็สามารถเป็นประเทศที่มีอำนาจได้เสมอไป แต่เป็นการที่ประเทศมีบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเยอะต่างหาก