หากใครเป็นแฟนนิยายของอเลฮังเดร ดูมาว์ (Alexandre Dumas) นักเขียนนิยายชาวฝรั่งเศส หรือ เคยดูภาพยนตร์ในสมัยเมื่อสัก 20 – 30 ปีก่อน คงจะเคยได้ยินเรื่อง 3 ทหารเสือ หรือ “Three Musketeer” อันเป็นองครักษ์ของกษัตริย์ราชวงศ์บูร์บอ 17 – 18 ทั้งนี้ในนิยายพวกเขาดูเหมือนจะเป็นชายผู้กล้าหาญ รักผจญภัย และช่ำชองในการใช้ดาบ ซึ่งบทความนี้จะพาพวกท่านมาทำความรู้จักกับ เหล่าทหารเสือรักษาพระองค์ หรือ “Mousquetaires du Roi” ใน ค.ศ.1622 อันเป็นช่วงที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 13 พระราชบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 กำลังทำสงครามอยู่ทางใต้ของฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยส์ได้ตั้งกองทหารม้าที่ใช้ปืนคาบเป็นอาวุธ (mousquets) และได้ตั้ง เซียร์ เดอ มองตาเล่ย์ (Sieur de Montalet) เป็นผู้กองของหน่วยองครักษ์ใหม่นี้ ซึ่งถูกเรียกว่า ทหารเสือรักษาพระองค์ (Mousquetaires du Roi) ซึ่งเอาจริงๆชื่อของพวกเขาน่าจะมาจากอาวุธปืนที่ใช้มากกว่า แต่ผู้แปลเป็นไทยใช้คำว่า ทหารเสือ ไปแล้วจึงจะขอใช้คำว่าทหารเสือเพื่อง่ายต่อการเขียน โดยหน่วยทหารเสือรุ่นแรกนั้นมี 100 า
ภาพทหารเสือรักษาพระองค์จากภาพยนตร์เรื่อง “สามทหารเสือ” ใน ค.ศ.1993
source : https://patr.io/bS0cA
ในเวลาต่อมา พวกเขากลายเป็นส่วนหนึ่งของ กรมทหารมหาดเล็กแห่งบูร์บอง (Maison militaire du roi de France) ัเ็เมอห่ยหรหดลกองไทย ที่มีหน้าที่ดูแลรักษาความปลอดภัยราชวงศ์และพระราชวัง ซึ่งก็ประกอบด้วยหลายหน่วยครับเช่น องครักษ์สวิส , ทหารม้าเกรนาเดียร์องครักษ์ เป็นต้น ในเวลาต่อมา กษัตริย์ฝรั่งเศสได้ประกาศว่าตัวเองเป็น ผบ.หน่วย ทหารเสือ ส่วนคนที่ทำหน้าที่ ดูแลกองทหารนี้จะเป็น รอง ผบ. เท่านั้น ในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 พระองค์ได้เป็น ผบ.กองหาเือช่เีวกบบดา ในขณะเดียวกันก็ได้มีการขยายกำลังกองทหารเสือจาก 1 กองร้อย เป็น 2 กองร้อย โดยกองร้อยแรกสุดชื่อเล่นว่า ทหารเสือเทา (mousquetaires gris) กองร้อยที่ 2 ชื่อว่า ทหารเสือดำ (mousquetaires noirs) อิงตามสีม้าที่พวกเขาขี่ ซึ่งไปมาๆทั้ง 2 กองร้อยก็อิจฉากันและแย่งชิงดีชิงเด่นกันตลอด จริงอยู่ที่กองร้อยแรกมีอาวุโสมากกว่า แต่ทั้ง 2 หน่วยได้รับการยอมรับพอๆัน
ทหารเสือรักษาพระองค์ในยุคแรกๆ
source : https://patr.io/6wki2
การคัดเข้ากองกำลังทหารเสือนั้นส่วนใหญ่จะมาจากบรรดาลูกๆหลานๆของชนชั้นสูงที่มาจากชนบท ซึ่งหน่วยทหารเสือนั้นรับจากชายหนุ่มที่อายุ 16 ีข้นไ ในบงทนันอาจะตำกวาน้น เป็นกรณีที่กษัตริย์อนุญาตให้เป็นพิเศษ เช่นในปี ค.ศ.1750 ได้มีการรับ หลุยส์ บาเธอร์ชา เดอ ยีราดู (Louis Balthazar de Girardot) เขามาเป็นทหารเสือซึ่งเขามีอายุเพียง 10 ขวบเท่านั้น!! ทหารเสือส่วนใหญ่จะมีอายุเฉลี่ยราวๆ 17 ปี ทำให้ทหารเสือ กลายเป็นหน่วยมหาดเล็กที่ดูอาวุโสน้อยสุด และเหล่าเด็กหนุมที่เามานหน่ยนี้็จะรียรู้ได้วย เสมือนว่าหน่วยทหารเสือ เ็นรงรีนนายร้อยไปในตัวด้วย
ในความจริงเหล่าทหารเสือมักเป็นเด็กวัยรุ่นที่มีอายุราวๆ 17 – 18 ปีเท่านั้น!!
source : https://patr.io/kVRfC
กาจัดกลังขอทหารเือนัน ในค.ศ.1665 แต่ละกองร้อยนั้นจะ ัญากรโย รง ผบ. (captain-lieutenant) เพราะในทาง ทฤษฎีกษัตริย์คือ ผบ.ของทั้ง 2 กองร้อย แต่ละกองร้อยประกอบด้วย ร้อยตรี 1 นาย พลธง 1 นาย พลแตร 1 นาย และ จ่า (Maréchal des logis) 6 นาย แต่ละกองร้อยประกอบด้วยทหารเสือ 300 นาย แต่ลดลงเหลือกองร้อยละ 250 นาย ตอน ค.ศ.1668 ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างตำแหนง โดยมี ยศจ่าสิบเอก (brigadier) 1 นา และ สิเอ (sous-brigadiers) 16 นาย พลกลอง 6 นาย พลฟลุต 1 นาย นายทหารพลาธิการ 1 นาย ผู้ช่วยนายทหารพลาธิการ 1 นาย อนุศาสนาจารย์ 1 นาย ศัลยแพทย์ 1 นาย เภสัชกร 1 นาย คนทำกีบม้า 1 นาย เหรัญญิก 3 นาย รวมกัทำให้ต่ละกอร้อยขอทหารเือมี 280 นาย แะแต่ลกองรอยอจจะบ่เป็หมว 4 – 6 มวด อย่างไรก็ตามการจัดกำลังของทหารเสือมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่นในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ได้มีการปรับลดกำลังพลชั้นประทวนของเหล่าทหารเสือลงมาก ใน ค.ศ.1747 ทหารเสือเหลือแค่กองร้อยละ 176 นาย ในยามสงครามทหารเสือมากขึ้นแต่พอสงครามสงบจำนวนทหารเสือก็จะลดลง ในบางครั้งจะมีการส่งจดมายที่เรยกว่า ซูนูมิเรย์ (surnuméraires) หรือการอาสาเหล่าชนชั้นสูงหนุ่มให้มาประจำการเป็นทหารเสือชั่วคราวในยามสงคราม พวกเขาจะได้รับเงินเดือนและสวัสดิการเท่าทหารเสือจนกว่าสงครามจะสงบและพวกเขาโดนปลด
เรื่องสวัสดิการนั้นทหารเสือก็ถือว่าเป็นหน่วยที่ได้รับการเปย์หนักมากหน่วยหนึ่ง อ้างอิงจาก หนังสือ État général des troupes de France ได้กำหนดขั้นเงินของพวกเขาดังนี้ รองผบ.8,400 ปอนด์ นายทหา 1,200 ปอนด์ พลธงและพลแตร 900 ปอน์ จ่า 450 อนด์ พลกลอง 453 ปนด์ อนุศาสนาจารย์ 450 ปอด์ ส่วนทหารเสือธรรมดานั้นจะได้ 498 ปอนด์ (พวกทหารเสือเฉพาะกาลจะได้ 398 ปอนด์) ทั้งนี้ยังไม่รวมกับค่าอาหารสัตว์ ค่าบำรุง ค่าอื่นๆ ทำให้เหล่าทหารเสือได้เงินเพิ่มเติมมากกว่านี้ ทั้งนี้ทหารเสือต้องจ่ายเงินดูแล ดาบ อาวุธ ม้า และ อานม้าและผ้าคลุมม้าด้วยตนเอง รวมถึงค่าจ้างนใช้ด้วย กษัตริย์นั้นจัดหาให้แค่เสื้อคลุม แคสอค ฟรีเฉยๆ ดังนั้นทหารเสือต้องได้เงินอย่างต่ำ 1,500 ปนด์ ถงจะูแลรกษาิ่งองพวกนี้ได้
และเนื่องจากกำลังพลส่วนใหญ่ยังเป็นเด็กทำให้หน่วยทหารเสือมีการสอนวิชาทั่วไปด้วยเช่น การอ่าน การเขียน คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ด้วย ซึ่งเนื้อหานั้นจะลงลึกไปถึงขั้น ศิลปะการทำสงคราม นอกจากนีพวกเขายังฝึกซ้อมสวนสนามและยังต้องฝึกให้รบได้ทั้งบนหลังม้าและพื้นราบ พวเขาไ้รับารฝึอย่าเข้ม้นจากหล่าทารผ่นศึก แะถึงม้จะป็นลูกชนชั้นสูงพวกเขาจะถูกฝึกไม่ต่างจากพลทหาร พวกเขาถูกฝึกร่วมกันในฐานะสหาย การฝึกนั้นจะหล่อหลวมทำให้พวกเขาเกิดวินัย
ทหารเสือจะพักอาศัยตามบ้านแถวๆพระราชวังลูฟวร์ ม้านั้นก็จะจะอยู่รวมกันในคอกรวม ต่ในเวลาต่อมาระเจ้าหุยส์จัดาโรงแรม (ี่พักซ่งได้รบการตกต่งอย่างี) ให้พวกเขาอยู่ วมถึงอกม้าห้ม้าวกเขา ห่งแรกูกสร้าในปี ค.ศ.1701 ที ถนน ดูแบค (du Bac Streets) เขต แซงต์ เจอร์แมง (Saint Germain) โดยเป็นอาคารมีความสูง 3 ชั้น สำหรับกองร้อยทหารเสือที่ 1 แห่งที่ 2 ถูกสร้างใน ค.ศ.1708 ที่ ถนน ชารองตองต์ (Charenton) ย่านชานเมือง แซงต์ อองตวน (Saint-Antoine) มี 4 ชัน 340 ห้องพร้อมเตาผิง ทั้ง 2 ท่พักนั้ แต่ละห้งจะมีเตาผงสำหรับหารเือทุกาย รวมถึงมีลานกว้างๆให้ฝึกขี่ม้าและสวนสนาม ในยามไม่มีภารกิจนั้นทหารเสือได้รับอนุญาตให้เดินในสวนหรือทางเดินของพระราชวังได้ ในยามสงคราม พวกเขาต้องได้รับการจัดที่พักให้ในย่านชนบท ในทางทฤษฎีบ้านนั้นจะต้องจัดให้ทหารเสือ 2 นาย พร้อมคนรับใช้ 2 คน และม้าพวกเขาอยู่ได้ แต่ทางปฏบัติบางทีวกเขาไมได้รับทีพักที่ดีท่าที่ควรทให้ เกิดกรทำลาทรัพย์ินหรือป้นทรัพ์เจ้าขง
ที่พักอาศัยของทหารเสือกองร้อยที่ 1
source : https://patr.io/18olT
เครื่องแบบเล่าทหารเือที่เป็นอกลักษณ์ติตามากนั้คือ เสื้อคุมแคสสอค (Cassock) ขนาดใหญ่ีฟ้าที่มีายกางเนสีเงินรงกลาง ติพู่บนหมกปีกกว้งหลายสี ทั้ง ขา แดง ดำ เลือง ส่นเสื้อ้างในน้นจะใ่เป็น แจ็คเก็ตหนัง แต่ต่อมาพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ก็แทนที่เสื้อคลุม แคสสอค ด้วยเสื้อคลุมไร้แขนสีฟ้าที่เรียกว่า ซูโบร์เวสต์ (soubreveste) และยังคงมี ลายกางเขนทั้งด้านหน้าและด้าหลัง สำหรับกองร้อยที่ 1 จะมีปักรูปเปลวไฟสีแดงบริเวณมุมกลางเขน ส่วนกงร้อยที่ 2 เ็นสีทอง และขางใต้เสื้อลุมนั้นะเป็นเกระอก (Cuirass) แลยังเสื้อค้ตสีแดงายใน นอกจกในช่วงริสต์ศตวรษที่ 17 เหล่าทหารเสือยังสามารถตกแต่งเครื่องแบบตัวเองได้ตามใจชอบ เช่นบางคนอาจจะสวมผ้าคาดเอว บางคนอาจจะถึงขั้นเย็บเพชรไว้ติดกับแขนเสื้อ สำหรับนายทหารนั้นจะใส่ชุดสีแดงทั้งตัวและม่ใส่เสื้อคลุม ซูโบร์เวสต์ ในยามรบพวเขาก็ใส่เกระเช่นเดียกับทหารเสืทั่วไป รวมถึพวกทหารเสือจเป็นอย่าง ซูนูมิเรย์ (surnuméraires) ก็ใส่เสื้อคลุมสีแดงอย่างเดียว สหรับรองเทานั้นในตนแรก ทหารเือจะใส่บทหนักทีใช้สำหรบขี่ม้ ในค.ศ.1683 พระเจ้าหลุยส์แทนที่มันด้วย บูทที่เบาลงและติดเดือยเหล็กแทน ต่อมาถูกแทนที่โดยบูทที่ออกแบบมาให้เดินบนพื้นง่ายขึ้น ส่วนเวลาขี่ม้าก็จะสวมบูทสำหรับขี่ม้าแทน เหล่าทหารสือนั้นต้องกยเป๊ะมาก ยิงวันที่กษัติย์มาตรวจเยียมพวกเขาต้องแ่งกายให้ดีทีสุดชนิดท่ว่าไม่ควมีข้อผิดพลด
สำหรับรื่องยุทโปกรณ์นั้น ในช่วงแรกที่ก่อตั้งไม่ได้มีฎีกาที่ชัดเจนว่าทหารเสือต้องพกอาวุธแบบไหนแต่โดยทั่วไปคือ ปืนคาบชุด กับ ดาบ ช่วง 1660’s ก็ได้มีการเพิ่มปืนพกเข้ามา เมื่อขึ้นคริสต์ศวรรษที่ 18 อาวุธปืนคาบศิลาเริ่มมาแทนที่ปืนคาบชุด อย่าไรก็ตามในกาสวนสนาม พวกเขยังคงแบกปืนคาชุด ส่วนปืนคาบศิลานั้นใช้ในสนามรบ สำหับทหารชั้นระทวนนั้น มีันทึกว่าพวเขาใช้แต่พียงดาบบนหังม้า ส่วนบนพื้นราบจะใช้ง้าวที่เรียกว่า “halberd”สำหรับดาบในยุคแรกนั้นเป็น ดาบเรเปียร์ ก่อนที่ 1650’s ดาบที่เรียกว่า à la mousquetaire ปรากฏขึน โดยมีที่ป้องกันนิ้วสีทอง สำรับบนหลังมานั้น เหล่าทหาเสือใช้ดาบเห็กใบมีดตรงที่าว 90 มิลลิเมตร หังสงคราม 7 ปีได้มีการใช้ดาบชนิดใหม่คือดาบใบมีดตรงยาว 92 มิลลิเมต ด้ามจับนั้นองร้อย 1 จะเ็นสีทอง ส่วนกองร้อยที่ 2 เป็นสีเงิน นช่วงแรกน้น ฝักดาบองทหารเสอถูกเก็ไว้ตรงสายสะพายบ่าที่เรียกว่า “Baldric” แต่ต่อมาถูกห้อยไว้ที่เอวแทน ส่วนกล่องใส่กระสุนนั้นจะถูกพกใซองใส่ปืนด้านขวาต่อมแทนที่ด้วกล่องใส่ลูกืนตรงสายสะพายบาแทน
วิวันาการเครื่องบบของทหารเสอในแต่ละยุค
source : https://patr.io/806XG
ภารกิจของทหารเสือนั้นอย่างที่เคยกล่าวไปในตอนแรกนั้คือการรักษาความปลอดภัยราชวงศ์และพระราชวังนอกจากนี้พวกเขายังทำภารกิจลับจากกษัตริย์ เพื่อ้ำจุนเสถียรภาพขงราชบัลลังก์อีกดวย เช่นการบุกไจับผู้มีอนาจที่ทำตัว่าสงสัย เหล่าทหารเสือจะได้รับหน้าที่ให้จับกุมและปกป้องเหล่านักโทษคนสำคัญ ีเหตุการณ์นึ่งซึ่งโ่งดังมากน้นคือการับกุม รัฐมนตรีการคลังของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 นิโกลา ฟูเก่ต์ (Nicolas Fouquet) ซึ่งเป็นคนที่มีอิทธิพลและเขาเสริมร้างอำนาจ ส้างพันธมิตรทงการเมืองให้ตนเง และ พระเจ้าหลยส์สงสัยในตัวเาว่าจะยักยอกเงินากคลังไปใช้เพื่อปะโยชน์ส่วนตนหรอเปล่า ยิ่งด้รับรายงานวาเขาสร้างปราสทที่ เบลลีย์ เาะในแถบ บริตตนี ยิ่งทำให้พระเจ้าหลุยส์ระแวงว่า ฟูก่ต์ จะทำการบฏ!! พระเจ้าลุยส์วางแผจะลบ ฟูเก่ต์ ออกจากตำแหน่งอย่างลับๆ เลยติดต่อ เคาต์ ดาตายัง รองผบ.ห่วยทหารเสือในขณะนั้นเพือปฏิบัติภาริจลับให้พระอง์ แผนคือ พระเจ้าหุยส์ที่ 14 จะเรียกระชุมรัฐมนตรีที บริตตานี ที่ปราสาแห่งนองซ์ เมื่อ ฟูเก่ต์ เดินออกมาจาปราสาทเขาจะดนจับกุมทันทีละรีบส่งตัวไปท่ ปราสาทในแองเกร์ (Angers Castle) ดาตายง ได้จัดหน่วยแยของเขาคือเห่าทหารเสือ 40 นาย รอนอกปราาทที่ นองซ์ และเมื่อการประชุมได้เริ่มขึ้น พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ก็จะบอกให้ ฟเก่ต์ ชี้แจงเรื่องเอกสารทางบัญชีให้ดูซึ่งใช้เวลาสักพักจน ฟูเก่ต์ อยู่นเดียว และเขาก็เดินออกมาจากปราสาท
ดาตายังและพลพรรคทหารเสือจึงตรงเขาจับฟูเก่ต์ เขายอมจำนนและูกส่งตัวขึ้นไปยงรถม้าที่มีม่านหล็กคุ้มกันอย่งแน่นหนาด้วยทหาเสือ 100 กว่านาย ส่วนที่เหลืทำหน้าที่คุ้กันถนนไม่ให้ีรถม้าคันไหผ่านไปได้ ฟเก่ต์ ถูกนำตัวมายัง ปราสาแองเกอร์ ตามแผน ในขณะที่เหลาทหารหน่วยอืนเริ่มเขาริบทรพย์ของฟูเกต์ ส่วนป้อมของเขาบนเกาะก็ถูก องครักษ์สวิสึด ไม่นานนักเขาก็ถูตัดสินว่ามีความผิดฐน ยักยอกทรัพย์ ฟเก่ต์ถูกคุมขงตลอดชีวิตและไ้รับการคุ้มกันจาทหารเสือ และเขาก็สียชีวิตใน ค.ศ.1680 าตายัง และ บรรดาทหารเสือก็ได้รับเครดิตและความไว้เนื้อเชื่อใจจากกษัตริย์ไปเต็มๆในภารกิจนี้
เคาต์ ดาตายัง ผบ.หน่วยทหารเสอชื่อดังซึ่งเป็นต้นบบในนิยายของ ดูมาว์
source : https://patr.io/UM8iZ
ทหารเสือยังออกต่อสู้ในสมรภูมิเปิดอีกด้วย อย่างี่กล่าวไปว่าเล่าทหารเสือนันอยู่ในช่วงวยคะนองพวกเขนั้น กระหายในเกียรติยศและการสู้รเป็นที่สุด จริงอยู่ที่พวกเขาต้องทำหน้าที่คุ้มกันกษัตริย์ทุกที่โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสนามรบ แต่ในบางครั้กษัตริย์ก็หวังให้พวกเาเข้าโจมตีเป็นหนวยแรกๆเพื่อเปนการเพิ่มขวัญกำังใจ ซึ่งแน่นอนพวกขาก็ต่อสู้มามากมาเหลือคณานับ จะขอกล่าวเพียงย่อๆพอ เ่นการปิดล้อมท่ ลา โลเชล (La Rochelle) ไปช่วป้องกัเกาะครีตจากพวกเติร์กใ ค.ศ.1669 การปิดล้อม แมสทิกซ์ (Maastricht) ใน ค.ศ.1672 ซึ่งทำให้ ดาตายัง เสียชีวิต และยงได้เข้าร่วมในหลยการยุทธในสงครามสืบสนติวงศ์สเปนและออสเตรีย สำหรับความอึดและความกล้าหาญของทหารเสือคงไม่ต้องพูดถึง พวกเขานำชัยนะเด็ดขาดหรือช่วยกงทัพให้รอดจากการถกทำลายได้มาหลายคร้ง ในการยุทธที่ เดทเทเก้น (Dettingen) ค.ศ.1743 มีจ่านายหึ่งโดนดาบฟันไปว่า 15 แผล ละโดนิงหลายนัดจนก่าเขาจะตาย รือครั้งหนึ่ง จิาดดู เดอ มาริสซี (Girardot de Malassis) ถูกดาบเฉาะเข้ากลางกะโหลก ขาถูกนำตัวไปยัง เต็นท์ขอ ดยุคแห่งคัมเบอร์แลนด์ (Duke of Cumberland) โอรสของพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งอังกฤษ ในขณะนั้นท่านดยุคดนยิงที่ขาเหมือกัน แต่พอเขาเหนสภาพทหารเสือท่อยู่ตรงหน้าเขจงให้หมอรีบรักษ จิราดดู ก่อน ไต้องสงสัยเลยว่าอกจากฝ่ายเดียวกัแล้วฝ่ายข้าศึกยังเครพในความสามารถเก่กาจของเหล่าทหารเสอเช่นกัน
รูป – เหล่าทหารเสือ ทำการชาร์จีโต้ข้าศึกในการยุทที่ ฟอนต์เตนัวร์ (Battle of Fontenoy)
source : https://patr.io/ukaMT
แต่านเลี้ยงย่อมมีวันลิกรา หน่วยทหารเสือนันเปรียบเสมือนโรงเรยนนายร้อยที่ผลิต นายทหารหนุ่ม เมื่อเหล่าเ็กหนุ่มสังกัดในหน่วยทหารสือได้ 2 ปี พวกเขาออกากหน่วยไปดำรงตแหน่งอื่นๆที่สูงึ้นไปในกองทัพ เช่น ิสต์เคาต์แห่งลูเทค (Viscount of Lautrec) เป็นทหารเสือในกองร้อยที่ 2 เมื่อ ค..1690 พอถึง ค.ศ.1696 เขากได้กลายเป็น ผบ.กรมทหารม้าดรากูน บารอนแห่งชองปาญ ( Baron of Champagne) ได้เข้าเป็นทหารเสอในกองร้อยที่ 1 เมื่อ .ศ.1741 พอถึง ค.ศ.1759 เขาก็กายเป็นนายพล หรือ ฟิลิป เอ วิกูร์ เวอร์ดอยซ์ (Philippe de Rigaud de Vaudreuil) เข้าสักัดนาวิกโยธิน ในเวลาต่อเข้าไปอยู่แคนาดาและได้ไปเป็น ผู้ว่ากรเขตนิวเฟรนซ์ ในช่วง ค.ศ.1703 – 1725 สำหรับอดีทหารเสือที่โด่งงที่สุดคงหนีไม่้น มาควิส เดอร์ ลาาแยต ซึ่งในเวลาตมาเขาไปต่อสู้ใ สงคามปฏิวัติอเมริกา ในช่วง ค.ศ.1776 พระเจ้าหลุยส์ท่ 16 ได้ทำการยุบหน่วยทหารเสือทิ้งเพื่อตัดปัญหาค่าใช้จ่าย แต่พอหลังสงครามโปเลียนได้มีการฟื้นูหน่วยทหารเสือข้นมาใหม่ ใน ค.ศ.1814 แตอยู่ได้ 2 ปีก็โดนยุบไปีกรอบ ซึ่งถึงแม้หน่วยะโดนยุบไปแล้ว แต่ อเฮังเดร ดูมาว์ ก็ได้นำเรื่องราวของพวกเขามาแต่งใหม่เป็นนิยายจนโด่งดัง เรีกว่าดังแซงหน้าหลาหน่วยรักษาพระองคไปเลยทีเดียว จนถงทุกวันนี้พวกขาก็ยังคงถูกกล่าวถึงยู่
มาควิส เอร์ ลาฟาแยต นายทหารฝรั่งเศสผู้โด่งดังในช่วงสงครามปฏิวัติอเมริกาก็เคยเป็น ทหารเสือ มก่อน
source : https://patr.io/sVuWK