X

ตอร์ปิโด ของเรือ U – Boat

      หากท่านใดได้ดูภาพยนตร์เรื่อง Greyhound ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับ เรือพิฆาตของฝั่งพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 รับหน้าที่ ปกป้องขบวนเรือสินค้า จากฝูง U – Boat ของเยอรมัน ในภาพยนตร์จะเห็นได้เลยว่า เหล่า U Boat นั้นสร้างความหวาดหวั่นให้แก่นักเดินเรือในสมัยก่อนมาก เพราะพวกมันมักจะแอบโผล่เข้ามาลอบโจมตีเรือสินค้าด้วย ตอร์ปิโด ก่อนจะดำหายไปอย่างรวดเร็วราวกับไม่มีตัวตนมาก่อน ซึ่งอาวุธตอร์ปิโด นั้นถือเป็นอาวุธที่อันตรายมากหากถูก ตอร์ปิโด ยิงเข้าถูกจุดสำคัญของเรือเพียงลูกเดียวเช่นกระดูกงูเรือ แรงดันน้ำจำนวนมหาศาลที่ทะลักเข้ามาฉีกเรือให้ขาดเป็น 2 ท่อน และจมลงในพริบตา วันนี้ผมจึงมาเจาะลึกเรื่องของ ตอร์ปิโด อาวุธหลักของ U – Boat ในห้วงสงครามโลกครั้งที่ 2 

Source : https://patr.io/1vjqo

 

      เดิมทีคำว่า ตอร์ปิโด หมายถึงทุ่นระเบิดใต้น้ำ ซึ่งถูกออกแบบมาให้กระทบกับเป้าหมายแล้วระเบิดทั่งช่วง ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้เริ่มมีการคิด ตอร์ปิโด ซึ่งปล่อยจากเรือรบหรือเครื่องบินแล้วพุ่งเข้าสู่เป้าหมายได้ กระทั่งสงครามโลกครั้งที่ 1 ตอร์ปิโด อาวุธถูกใช้อย่างแพร่หลายจากทั้ง 2 ฝ่าย โดยฝ่ายเยอรมันเป็นผู้ริเริ่มการนำ การใช้เรือดำน้ำซึ่งติด ตอร์ปิโด เป็นอาวุธหลักในการโจมตีเรือผิวน้ำของข้าศึก มาถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เยอรมันยังคงยึดหลัการรบด้วยเร ละนั้นก็ทำให้อาวุธ ตอร์ปิโด ของเยอรมันได้รับการพัฒนาตลอดเวลา ซึ่งช่วงต้นสงครามโลกครั้งที่ 2 เยอรมันใช้ ตอร์ปิโดรุ่น G7a ซึ่งใช้พลังไอน้ำในการขับเคลื่อน ข้อเสียของมันร้ายแรงคือ ด้วยการเผาไหม้จากเครื่องยนต์ไอน้ำ ทำให้เวลาตอร์ปิโดเคลื่อนที่เกิดฟองน้ำมากมาย ทำให้ข้าศึกรับรู้ตำแหน่งของมันได้ก่อน ตอร์ปิโดรุ่นถัดมาที่ถูกพัฒนาคือ G7e

รูป – ตอร์ปิโด G7e

Source : https://patr.io/uAE9S

1.G7e T2 มันถูกประจำการในเรือดำน้ำตั้งแต่ ค.ศ.1936 มีระยะยิง 5,000 เมตร ความเร็ว 30 นอต ข้อดีของมันคือ มันเป็นตอร์ปิโดรุ่นแรกที่ขับเคลื่อนด้วยพลังมอเตอร์ไม่ใช่ไอน้ำทำให้มันงย ตวจบดยก แต่ข้อเสียที่แลกมาคือ ตัวจุดชนวนแม่เหล็กของมันด้านค่อนข้างบ่อย และ แบตเตอรี่ที่ใช้เดินมอเตอร์ ต้องเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 30 องศา เซลเซียส เพื่อให้ ตอร์ปิโดสามารถทำความเร็วได้สูงสุด และแน่นอนว่ามันก็มักจะทำความเร็วได้ต่ำกว่ามาตรฐาน อย่างไรก็ตามบรรดา ทหารเรือดำน้ำพยายามกลบข้อเสียของมัน โดยการใช้เทคนิค โจมตีแบบไม่คาดฝันและโจมีในระยเานท จนกะท่งีกรพฒนให่เ็นุ่ T3

รูป – ตอร์ปิโด G7e T3

Source : https://patr.io/vHNk5

2. G7e T3 เป็นรุ่นอัปเดตของ T2 ถูกคิดขึ้นในช่วง ค.ศ.1942 โดยเพิ่มระยยิงากข้นเ็น 7,500 เมร ความเร็ว 30 นต นกาน้ัยังสามารถยิงเข้าใส่บริเวณใต้กระดูกงูเรือ (เปรียบเสมือนกระดูกสันหลังของเรือ) เพื่อทำเรือหักครึ่งและจมลงได้ ก่อนหน้านี้รุ่น T2 ไม่สามารถทำได้เนื่องจากมักจะด้านบ่อย เรียกได้ว่ารุ่น T3 ออกมาเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของรุ่น T2 

รูป – G7e T4

Source : https://patr.io/3tY9e

3.G7e T4 “Falke” นี้คือ ตอร์ปิโดของเยอรมันรุ่นแรกที่มีระบบอะคูสติก หรือ การติดตามเป้าหมายด้วยโซนาร์ ถูกผลิตใน ค.ศ.1943 มันมีระยะยิงอยู่ที่ 7,500 เมตร และด้วยความที่มันสามารถวิ่งเลี้ยวไปมาตามเป้าหมายได้ทำให้มันมีความเร็วเหลือแค่ 20 นอต แต่ไ่ใช่ปัญหาใหญ่อะไรเพราะ ตอ์ปิโ พวกนี้ออกแบบมาให้จมเรือสินค้าในขบวนคอนวอยโดยเฉพาะซึ่งปกติทำความเร็วอยู่ที่ 10 นอต เท่านั้น ซึ่งเจ้า T4 ก็จมเรือสินค้าไปรวมเป็นระวางขับน้ำกว่า 30,000 ตัน

รูป – G7e T5 Zaunkonig

Source : https://patr.io/3tY9e

4. G7e T5 Zaunkonig ตอร์ปิโดรุ่น T4 ถูกใช้งานเป็นระยะเวลาสั้นๆก่อนถูกแทนที่ด้วย รุ่น T5 ซึ่งพัฒนามาใหม่ในช่วงกันยายน ค.ศ.1943 ซึ่งมันมีความเร็วอยู่ที่ 24 นอต มากกว่ารุ่น T4 แต่ระยะยิงของมันอยู่ที่ 5,700 เมตร ซึ่งใกล้กว่ารุ่น T4 อย่างไรก็ตามรุ่น T5 ออกแบบมาให้ยิง เรือรบ ที่คอยคุ้มกันคอนวอยโดยเฉพาะ ซึ่งระบบโซนารของมันออกแบบมาห้ับลืนคามถี่ของเรือรบที่มีขนาดเล็กกว่าเรือสินค้า ย่งไก็ามลอการยิง ตอร์ปิโดรุ่นติดตามกว่า 700 ลูก มีเรือพิฆาตเพียง 80 ลำเท่านั้นที่ถูกยิง เพราะพวกเขาปล่อยเป้าลวงที่เรียกว่า Foxer

 

5.G7e T11 เรียกได้ว่าเป็นตอร์ปิโดรุ่นสุดท้ายของเยอรมันซึ่งออกมาในช่วงปลายสงคราม ซึ่งออกมาแก้ทาง Foxer โดยการยิงที่หัวเรือรบซึ่ง ตอร์ิโด ะไมสับนกัเสียงของ Foxer ซึ่คล้ายบจักบริเณท้ยเรื แต่มันเป็นได้แค่เพียงการทดลองเท่านั้น มันยังไม่ได้จมเรือลำใดลงสงครามก็จบลงเสียก่อน