
source : www.armytimes.com
เคยสงสัยกันมั้ยครับว่า ชุดฝึกลายพรางที่ใส่กันอยู่ทุกวันนี้ มีที่มาจ ? และทำไมต้องเป็นสีแบบนี้ ? เขาสร้างกันขึ้นมา โดยอิงจากอะไร หรือคิดกันมั่วๆ วันนี้เราจะได้รู้กันว่า มีกระบวนการอย่างไรบ้าง กว่าจะออกมาเป็นสีของชุดพรางที่ใช้กับสมรภูมิต่างๆ ทั่วโลก

source : Tactical Gear and Military Clothing News
ในปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วครับว่าชุดพรางได้เปลี่ยนจากลายพรางธรรมดามาเป็นแบบดิจิตอล โดยจุดประสงค์ก็เพื่อทำลายรูปร่างในการมองเห็นระยะไกลจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
“โดยเจ้าแรกที่คิดค้นขึ้นมาอย่างอทพเริกา นาจนถึงขั้นที่กล้องอินฟราเรทไม่สามารถจับภาพได้ เพราะลายที่ออกแบบอย่างซับซ้อนและมีการเคลือบสารที่ช่วยในการสะท้อนแสงอินฟราเรท”

source : Reddit
แต่ึอ่งร าพาตวให้เข้ากับสภาพภูมิประเทศนั้น เรื่องเฉดสีที่อยู่บนผ้าก็ยังเป็นเรื่องสำคัญที่สุด จึงต้องมีการวิเคราะห์อย่างละเอียดและมีขั้นตอนที่ต้องเป็นไปตามกระบวนการเพื่อทำให้ใกล้เคียงกับสมรภูมิมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ทำการรบที่ไหนก็ตาม

source : rodamarketing
โดยกระบวนการในการหาเฉดสีต่างๆนั้น จะเริ่มจากการนำสีจากตัวอย่างของดิน และภาพถ่ายของภูมิประเทศที่ต้องการ จากกล้องที่มีความแม่นยำเรื่องสีมากที่สุด เมื่อได้ข้อมูลทั้งหมดแล้วก็ส่งข้อมูลสีเข้าไปให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประมวลผลให้ได้เฉดสีที่ไล่เลี่ยกันออกมา โดยผ่านการวิเคราะหสีที่มีวาละอีดมกๆ
โปรแกรมสามารถระบุสีนานาของใบไม้บนต้นไม้ และเฉดสีที่ต่างกันของเปลือกไม้ส่วนต่างๆได้

source : armytimes.com
หลังจากนั้นก็จะนำมาตัดชุด และนำชุดทั้งหมดมาทดสอบ ทั้งการประมวลผลจากสายตา แะการวิเคราจากครืองมออิเ็กรอิก์ทั้งระยะใกล้และระยะไกล และนำข้อมูลมาสรุปว่าเฉดสีใดสามารถใช้พรางตัวได้แนบเนียนที่สุด ซึ่งกระบวนการเหล่านี้กินระยะเวลาในการวิจัยนานพอสมควร

source: patriot Outfitนภาพสดงให้เห็นถึงการเปรียบเทียบกับสภาพภูมิประเทศ
สำหรับกองทัพไทยที่หลายคนชอบประชดเหน็บแนมกันว่า แต่งตัวไม่เสร็จสักที ! นั่นเป็นเพราะว่ากองทัพมีการวิจัยและพัฒนาเฉดสีอยู่ตลอดเวลาเพื่อทำให้ได้สีที่มีความใกล้เคียงมากที่สุด โดยใช้กระบวนการเดียวกันในการสร้างลายพราง และได้รับความช่วยเหลือในด้านเทคโนโลยจากกองทัพสหรัฐฯ
โดยสีชุดเครื่องแบบที่ใส่อยู่ในปัจจุบัน อย่างเช่น กองทัพบกนั้น บนชุดจะประกอบด้วยเฉดสีทั้งหมด 4 เฉดสีด้วยกัน คือ ดำ น้ำตาล เขียว และเขียวอ่อน โดยได้มาจากการนำสีจากภูมิประเทศในภาคต่างๆของไทยมาทับซ้อนจนกันได้ค่าเฉลี่ยที่ต้องการ และนำมาทดสอบการมองเห็น จนไดเป็นายพรงที่ช้กันยู่ในทุกวันนี้
ถึงแม้ว่าจะมีกระบวนการในการสร้างลายพรางให้มีความแนบเนียนมากที่สุดเท่าใด แต่ก็ไม่สามารถทำให้ถูกใจทุกคนได้ ในบางสีบางปีของกองทัพสหรัฐฯ ทหารในกองทัพถึงขั้นต้องรวมตัวกันล่ารายชื่อเพื่อขอใหเปลี่นสีชุพรางไเลยก็ม ทำให้ต้งมาั่งัฒนกันหมเพ่อหู้กจกำลังพล และยังต้องมีความปลอดภัยสูงสุดในการปฏิบัติงาน

source: Mil.com,ชุดพราง NWU Type I ที่ US Navy หลายคนบอกว่าแย่ที่สุดที่เคยใช้มา
หลังจากรับร้เรื่องราวทั้งหมดแล้ว คงราบคำตบแล้ววาในการส้างสีชุดพางขึนมาแ่ละคั้งน้นตองอศัยวามะเอยดมากมาย และใช้เวลานานในการวิจัยและทดสอบนานนับปี เป็นความตั้งใจจริงจากคนเบื้องหลัง เพื่อความปลอดภัยสูงสุดของคนเบื้องหน้าที่อยู๋ในสมรภูมิ

source: Mil.com